การประยุกต์ 1. Utility function

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
ตัวอย่างการประยุกต์ตัวแบบ IC
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
บทที่ 4 อุปทานของเงิน (Money Supply) และประเด็นสำคัญอื่น ๆ
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ตัวแบบอรรถประโยชน์ (utility theory)
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
Training Management Trainee
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
Lesson 11 Price.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ตัวอย่าง: ดุลยภาพในการแลกเปลี่ยนและการผลิต
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
Course Syllabus เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นสาหรับวิศวกร
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
แนวทางการจำหน่ายดินที่ได้จากการขุดลอก ในที่ราชพัสดุ
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
LOGO บัญชีรายได้ประชาชาติและองค์ประกอบค่าใช้จ่าย.
การสอบแข่งขันทักษะคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (รอบที่ 1 คิดเลขเร็ว)
ฉัน A CD 3412 B EF แผนการตลาด Binary ( 1 แยก 2 ) จับคู่จ่าย คู่ละ 1,000 บาท บริษัทจ่าย 1,000 บาท หักภาษี 5% 50 บาท หักค่าโอนเงิน 30 บาท.
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
เรื่อง เงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การสมัครสามารถเปิดรหัสได้ 3 รูปแบบ รหัส (50 PV) 1 รหัส (50 PV) 5,000 บาท 3 รหัส (150 PV) 3 รหัส (150 PV) 14,000 บาท รับโบนัสผู้นำ.
การรวมธุรกิจ.
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวี สุนทร นำเสนอ.
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประยุกต์ 1. Utility function จะให้ Utility function มาแล้วคำนวณหา x และ y เช่น U(X,Y) = XaY1-a แล้วให้ Px = 1 บาท Py = 2 บาท และ I = 100 บาท a = 0.5 หาค่า x และ y ณ จุดดุลยภาพ

2Y = X (PxX) + (PyY) = 100 X + 2Y = 100 2Y + 2Y = 100 4Y = 100 Y = 25 X = 50

2. การวัดความยืดหยุ่น (EP) ถ้าให้ เส้นอุปทานเป็น Qs = 1800 + 240P และเส้นอุปสงค์เป็น Qd = 3550 + 266P ณ จุดดุลยภาพจะมี (EP) ของอุปสงค์และอุปทานเป็นเท่าไร

ณ จุดดุลยภาพ Qs = Qd 1800 + 240P = 3550 - 266P 506P = 1850 P = 3.46 บาทต่อตัน Qs = 1800 + (240 x 3.46) = 2630 ตัน

ถ้าให้ P เพิ่มเป็น 4 บาทต่อวัน QD = 3550 - (266 x 4) = 2486 ตัน EP จะเปลี่ยนไปตามเส้นอุปสงค์และอุปทาน

3. ส่วนเกินของผู้บริโภค

ถ้าคนในเมืองนี้ต้องจ่ายค่าทำอากาศให้บริสุทธิ์มากขึ้นเป็น 1,000 บาทต่อ NOX ลดลง 1pphm โครงการกำจัดมลพิษจะสร้างผลได้ให้กับประชากรเป็นเท่าไร? CS = (1/2) x 5 x (2,000 - 1,000) = 2,500 บาท

4. ผลของการเก็บภาษี กำหนดให้ผู้บริโภคซื้อน้ำมัน 1,200 แกลลอนต่อปี EP = -0.5 ราคาในตลาดเป็น 1 เหรียญต่อแกลลอน รายได้เป็น 9,000 เหรียญต่อปี ถ้าเก็บภาษีน้ำมันเป็น 0.5 เหรียญต่อแกลลอน จะมีผลต่อปริมาณการบริโภคน้ำมันเป็นเท่าไร ดูจาก EP = -0.5 = % Q / % P % P = 0.5 % Q = -0.5 x 0.5 = -0.25

ลดลง 25% จาก 1,200 เหลือ 900 แกลลอน ถ้ารัฐชดเชยเป็นเงินสดให้ 450 เหรียญต่อปี การบริโภคน้ำมันจะเป็นเท่าไร ถ้า EY = 0.3 สำหรับน้ำมัน ดูจาก EP = % Q / % Y % Y = 450 / 9000 = 5 % % Q = 0.3 x 5 % = 1.5 % บริโภคน้ำมันเพิ่ม = 900 x 1.5 % = 13.5 แกลลอน

5. การควบคุมราคา (Price Control) ถ้า กำหนด อุปสงค์และอุปทานของแก๊สเป็น Q = -5Pg + 3.75Po Q = 14 + 2Pg + 0.25Po ณ จุดดุลยภาพ Pg = 2 เหรียญ และ Po = 8 เหรียญ ถ้า รัฐควบคุมราคาแก๊สให้เหลือเป็น 1 เหรียญ จะเกิด Excess demand เท่าไร

แทนค่า Pg = 1 QD = (-5 x 1) + (3.75 x 8) = -25 QS = 14 + (2 x 1) + (0.25 x 8) = 18 QD มากกว่า QS = 25 - 18 = 7 หน่วย