ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กลุ่มวิจัยด้านทฤษฎี ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาการคอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎี (Theoretical Computer Science) นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎีสร้างงานวิจัยที่เป็นรากฐานให้กับสาขาต่าง ๆ ในวิทยาการคอมพิวเตอร์ Cover of FOCS proceedings --- designed by Alvy Ray Smith in 1973
Theoretical Computer Science Networking Artificial Intelligence Database Computer Systems Programming Optimization Theory
TCS, at KU เสียใจด้วย ที่นี่เราไม่เก่งขนาดทำได้ทุกเรื่องขนาดนั้น
TCS, at KU โดยทั่วไปแล้ว เราสนใจงานวิจัยที่ เสนออัลกอริทึมหรือวิธีการใหม่ที่ดีกว่าเดิม (โดยพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์ได้) เสนอการวิเคราะห์งานเก่าที่ชัดเจนกว่าเดิม เสนอบทพิสูจน์ของวิธีการที่มีผู้ใช้จริงในทางปฏิบัติ แต่ไม่มีใคร (คิดจะ) ตอบคำถามว่า "ทำไมจึงทำงานได้?"
คนบอก ๆ กันมา มีคนบอกว่า เราบอกว่า "นักทฤษฎีเป็นคนที่เชื่ออะไรยาก" "คนอื่นอาจเชื่ออะไรง่ายเกินไป?"
กรอบของทฤษฎี สร้างผลงานใหม่จากความเข้าใจที่ลึกซึ้งมากกว่า จัดกลุ่มผลงานเก่าให้อยู่ในกรอบที่สามารถนำมาเปรียบเทียบกันได้ แสดงว่า อะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้ อะไรทำดีกว่าที่ทำอยู่ไม่ได้ อะไรที่ชาวบ้านคิดว่าทำได้ แต่จริง ๆ แล้วทำไม่ได้
ตัวอย่างปัญหา AI (Learning theory) Theoretical performance of various constructions of multiclass classifiers from binary classifiers Network (Graph algorithms, distributed algorithms) Constructing almost optimal multicast trees efficiently, in a distributed fashion (both in wired networks and wireless networks) Performance guarantees for heuristics for constructing multicast trees in wireless ad hoc network Analysis of intruder detection and cleaning algorithms in various intruder models Load balancing (Graph algorithms) Faster algorithms for job assignments Optimization (Graph algorithms) On-going: Experimental analysis and theoretical analysis of ant-based optimization algorithm for traveling salesman problem
TCS, at KU สาขาที่ทำวิจัย (มีงานตีพิมพ์) สาขาที่สนใจ (ปัจจุบัน) Graph algorithms: shortest paths, minimum cuts, maximum flows, matchings Approximation algorithms Sidelines Distributed algorithms Computational learning theory สาขาที่สนใจ (ปัจจุบัน) Network algorithms: routings, packet scheduling Computational biology: Phylogeny Anything which requires proofs
กิจกรรมของกลุ่มวิจัย Theory Suki (ถูกกว่า MK กินได้บ่อยเท่าที่ต้องการ)
Theory Suki
กิจกรรมของกลุ่มวิจัย Theory Reading Group สัมนาย่อยรายอาทิตย์ นิสิตและอาจารย์ผลัดกันอ่าน paper แล้วนำมานำเสนออย่างไม่เป็นทางการ (เย็นวันจันทร์ หรืออังคาร) Probability Reading Group สัมนาย่อยรายอาทิตย์ จัดโดยนิสิต อ่าน course note วิชาความน่าจะเป็น (บ่ายวันจันทร์) Theory Informal Lectures Approximation algorithms (เย็นวันพฤหัสบดี) Theory Suki ถูกกว่า MK กินได้บ่อยเท่าที่ต้องการ
ทรัพยากร (คงทน) เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง (อาจเพิ่มได้ในอนาคต) ไวท์บอร์ทขนาดใหญ่ 2 อัน โต๊ะและเก้าอี้อีกหลาย ๆ ตัว (ขอบคุณ KDL & NAIST) ตู้เย็น, หม้อต้มน้ำ, เครื่องทำกาแฟ, ชาม, แก้วน้ำ, แก้วกาแฟ
ทรัพยากร (สิ้นเปลือง) มีไม่จำกัด กระดาษ & หมึกพิมพ์ ปากกาไวท์บอร์ด กาแฟ: กาแฟสด (อย่างค่อนข้างดี), นมข้นหวาน, นมข้นจืด (ครีมสด), กาแฟขวด, กาแฟกระป๋อง บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ขาดแคลน เครื่องคอมพิวเตอร์: ปัจจุบันมี 1 เครื่อง อาจเพิ่มได้อีกในอนาคต
เกณฑ์การรับเข้าห้องวิจัย ไม่มีเกณฑ์แน่นอน ระดับปริญญาโท งานวิจัยอาจเป็นการทดลอง (ไม่ต้องพิสูจน์) ได้ ระดับปริญญาเอก งานวิจัยต้องเป็นการพิสูจน์ทฤษฎีเท่านั้น
คณาจารย์ อ.เฉลิมศักดิ์ ฉัตรดอกไม้ไพร อ.จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล อ.เฉลิมศักดิ์ ฉัตรดอกไม้ไพร programming languages (ช่วงนี้พักการทำวิจัยไปเลี้ยงลูก) อ.จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล algorithms อ.ปริญญา เฉลิมสุข computational complexity (ลาเรียน U. of Chicago)
ทุนวิจัย ไม่มีมากนัก แต่คิดว่าคงไม่กินแกลบ? อ. จิตร์ทัศน์ รับทุนวิจัย: สนับสนุนการทำวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ --- สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยแห่งชาติ (สกว) ทุนระยะเวลา 2 ปี (หมดในเดินมิถุนายนนี้) แต่คิดว่าคงไม่กินแกลบ?
ถ้าสนใจ มารับ paper (ของคนอื่น) ไปอ่านเล่นก่อน แต่ถ้าชอบค่อยมาคุยกัน (คิดว่าคงอ่านไม่รู้เรื่อง --- แต่ไม่ต้องกลัว, ตอนผมเริ่มอ่าน ผมก็อ่านไม่รู้เรื่องเหมือนกัน) แต่ถ้าชอบค่อยมาคุยกัน