เคมีอินทรีย์ แอลดีไฮด์และคีโตน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
สารประกอบอินทรีย์ ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ
การเรียกชื่อตามระบบ IUPAC
การศึกษาโครงสร้างในแบบ 3 มิติ ว่า อะตอมต่างๆมีการจัดเรียงตัวในที่ว่าง
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
ความเป็นเบสของ Amines(Basicity of Amines)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
ปฏิกิริยาจัดเรียงตัว
3. Hinzberg test เป็นปฏิกิริยาของ Amines
เคมีอินทรีย์ แอลคีน ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
เคมีอินทรีย์ แอลกอฮอล์ และอีเทอร์
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
หินแปร (Metamorphic rocks)
Intermolecular Forces
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
เคมีอินทรีย์ แอลไคน์ และแอลคาไดอีน
เคมีอินทรีย์ ฟีนอล และแอริลเฮไลด์
เคมีอินทรีย์ สารประกอบอะโรมาติก aromatic compounds
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
การเสื่อมเสียของอาหาร
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
สมบัติทางเคมีของเอมีน
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Mr. POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Naming and Physical & Chemical Properties of Organic Chemistry
Part4 : Alcohols and Reaction of Alcohols
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 9 Amines.
บทที่ 6 Alcohols and Ethers
บทที่ 5 Alkyl Halides.
บทที่ 1 Introduction.
บทที่ 3 Alkenes & Alkynes
บทที่ 7 Aldehydes and Ketones
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
Alkyl halide Alkyl halide หรือ Aryl halide มีสูตรทั่วไป คือ R - X หรือ Ar - X มีความสำคัญในด้านต่าง ๆ เช่น ใช้เป็นยาฆ่าแมลง ยาปฏิชีวนะ.
Introduction to Metabolism
สารอินทรีย์และการเรียกชื่อ
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สารประกอบ.
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
ยางพอลิไอโซพรีน.
หมู่ฟังก์ชัน (Functional Group)
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
Alkynes 1-butyne 2-butyne
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
มลภาวะ (pollution).
REACTIONS OF ALKENES : คือปฏิกริยาที่ C=C bond ADDITION
เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อสารอินทรีย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

403221 เคมีอินทรีย์ แอลดีไฮด์และคีโตน ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 403221-aldehyde

โครงสร้าง หมู่คาร์บอนิล C=O สูตรทั่วไป CnH2nO 403221-aldehyde

การเรียกชื่อแอลดีไฮด์ (aldehyde) ชื่อสามัญ เรียกตามชื่อกรดคาร์บอกซิลิกที่มีจำนวนคาร์บอนเท่ากันโดยเปลี่ยน -(o)ic acid เป็น aldehyde 403221-aldehyde

ชื่อ IUPAC สายโซ่คาร์บอนยาวที่สุดและมีหมู่ เป็นชื่อสายโซ่หลัก alkanal โดยหมู่ อยู่ตำแหน่งที่ 1 403221-aldehyde

การเรียกชื่อคีโตน (ketone) ชื่อสามัญ ชื่อเฉพาะที่ยอมรับ 403221-aldehyde

ระบุชื่อหมู่แอลคิล 2 หมู่ที่ต่อกับหมู่ C=O เรียงลำดับตัวอักษรตามด้วย ketone 403221-aldehyde

ชื่อ IUPAC สายโซ่คาร์บอนยาวที่สุดและมีหมู่ เป็นชื่อสายโซ่หลัก alkanone ระบุตำแหน่งโดยหมู่ อยู่ตำแหน่งเลขต่ำที่สุด 403221-aldehyde

สำหรับ cyclic ketone หมู่ อยู่ตำแหน่งที่ 1 403221-aldehyde

สมบัติทางกายภาพ จุดเดือด MW จุดเดือด (oC) CH3CH2CH2-C-H 72 76 O CH3CH2-C-CH3 72 80 CH3CH2CH2CH2CH3 72 36 CH3CH2OCH2CH3 74 35 CH3CH2CH2CH2OH 74 118 O O 403221-aldehyde

แอลดีไฮด์ คีโตนมีจุดเดือดสูงกว่าแอลเคน และอีเทอร์ แต่ต่ำกว่าแอลกอฮอล์ที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน เพราะหมู่คาร์บอนิล C=O ค่อนข้างมีขั้ว ทำให้มีแรง dipole ยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล แต่ไม่มีพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุล 403221-aldehyde

การละลาย แอลดีไฮด์ คีโตนที่มีมวลโมเลกุลต่ำละลายน้ำได้เพราะเกิดพันธะไฮโดรเจนกับน้ำ ละลายในตัวทำละลายอินทรีย์ทั่วไป 403221-aldehyde

การเตรียมแอลดีไฮด์ 1. ปฏิกิริยา oxidation ของ 1o ROH แอลดีไฮด์ที่ได้มีจำนวน C เท่ากับสารตั้งต้น 403221-aldehyde

2. Reimer-Tiemann reaction ใช้สังเคราะห์ phenolic aldehyde 3. Gatterman-Koch reaction ใช้สังเคราะห์ aromatic aldehyde 403221-aldehyde

4. Rosenmund reduction 403221-aldehyde

การเตรียมคีโตน 1. ปฏิกิริยา oxidation ของ 2o ROH 403221-aldehyde

2. ปฏิกิริยา hydration ของ alkyne 403221-aldehyde

3. ปฏิกิริยา hydrolysis ของ geminal dihalide 403221-aldehyde

4. ปฏิกิริยา Friedel-Craft acylation 403221-aldehyde

5. ปฏิกิริยาระหว่าง nitrile กับ RMgX หรือ RLi คีโตนที่ได้มีจำนวน C มากกว่าสารตั้งต้น 403221-aldehyde

6. ปฏิกิริยาระหว่าง acid chloride กับ R2CuLi R, R’ อาจเป็น alkyl หรือ aryl ก็ได้ คีโตนที่ได้มีจำนวน C มากกว่าสารตั้งต้น 403221-aldehyde

403221-aldehyde

7. ปฏิกิริยาระหว่าง acid chloride กับ organocadmium 403221-aldehyde

ถ้าใช้ Grignard reagent หรือ organolithium แทน organocadmium 403221-aldehyde

8. ปฏิกิริยา ozonolysis ของ alkene Asymmetric alkene ได้ผลิตภัณฑ์ 2 ชนิด Symmetric alkene ได้ผลิตภัณฑ์ชนิดเดียว 403221-aldehyde

ปฏิกิริยาของสารประกอบคาร์บอนิล 1. nucleophilic addition Nucleophile ได้แก่ HCN hydrogen cyanide ROH alcohol NaHSO3 sodium bisulfite RMgX Grignard reagent HNH2 ammonia และ อนุพันธ์ของ ammonia 403221-aldehyde

1.1. Addition of HCN 403221-aldehyde

403221-aldehyde

1.2. Addition of alcohol 403221-aldehyde

403221-aldehyde

กลไกปฏิกิริยา 403221-aldehyde

403221-aldehyde

1.3. Addition of bisulfite ใช้แยก aldehyde ketone ออกจากสารอื่นที่ไม่ละลายน้ำ 403221-aldehyde

1.4. Addition of Grignard reagent (RMgX) 403221-aldehyde

403221-aldehyde

1.5. Addition of ammonia derivative Reagent Product NH2OH hydroxylamine oxime NH2NH2 hydrazine hydrazone phenylhydrazine phenylhydrazone semicarbazide semicarbazone 403221-aldehyde

กลไกปฏิกิริยา 403221-aldehyde

2. Oxidation 2.1. Oxidation of aldehyde ใช้บอกความแตกต่างระหว่าง aldehyde กับ ketone 403221-aldehyde

ใช้บอกความแตกต่างระหว่าง aliphatic กับ aromatic aldehyde Fehling’s reagent = Cu2+ tartrate complex Benedict’s reagent = Cu2+ citrate complex ใช้บอกความแตกต่างระหว่าง aliphatic กับ aromatic aldehyde 403221-aldehyde

2.2. Oxidation of methyl ketone (iodoform test) alcohol ที่ oxidize แล้วได้ methyl ketone ก็เกิด haloform เช่นกัน 403221-aldehyde

3. Reduction 3.1. Reduction to alcohol 403221-aldehyde

3.2. Reduction to hydrocarbon 403221-aldehyde

4. ปฏิกิริยาของ a-hydrogen 4.1. Keto-enol tautomerization Enolate anion เสถียรเพราะมี Resonance resonance form 403221-aldehyde

4.2. Halogenation เกิดปฏิกิริยาแทนที่ที่ a-H กลไกปฏิกิริยา 403221-aldehyde

การเกิด iodoform 403221-aldehyde

กลไกปฏิกิริยา 403221-aldehyde

4.3. Aldol condensation กลไกปฏิกิริยา 403221-aldehyde

เมื่อให้ความร้อน aldol จะเกิด dehydration 403221-aldehyde

5. Canizzaro reaction ปฏิกิริยาเฉพาะ aldehyde ที่ไม่มี a-H autooxidation-reduction 403221-aldehyde

กลไกปฏิกิริยา 403221-aldehyde