Introduction to Enzymes

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมดุลเคมี.
Advertisements

การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
Cellular Respiration 18,25 ก.ย. 56
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
ชีวเคมี II Bioenergetics.
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
BIOL OGY.
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเสื่อมเสียของอาหาร
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
Amino Acids and Proteins
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
Protein.
Protein Isolation and Amino acid sequencing
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
แนวโน้มของตารางธาตุ.
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ENZYME.
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 9 Amines.
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
SUPERCONDUCTORS จัดทำโดย 1..
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
Introduction to Metabolism
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
saidaonline.jpg.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
นางสาว จิตราภรณ์ แสนสิทธิ์
ทดสอบความรู้วิชาชีวเคมี เรื่อง
ใช้ในFlip Album รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง(Change)
สารประกอบ.
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
Lab : protein chemistry JUN 27th, 2014 Rujira Patanawanitkul, M. D
อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ (Dr. Noppol Leksawasdi)
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
โดย นางธนาวลัย อรัญญิก
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
12 Nov 2014 Metabolism of Nucleotides
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Biochemistry II 2nd Semester 2018
เอนไซม์และตัวยับยั้งเอนไซม์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to Enzymes 01402313 ชีวเคมี II Introduction to Enzymes

Introduction to Enzymes เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ สมบัติของเอนไซม์ มีอัตราการเร่งปฏิกิริยาสูงมาก เมื่อเทียบกับไม่มีตัวเร่ง หรือเมื่อเทียบกับปฏิกิริยาเคมีธรรมดา เร่งได้ในสภาวะที่ไม่รุนแรง อุณหภูมิต่ำ pH เป็นกลาง มีความจำเพาะสูง ควบคุมได้

enzymology เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับเอนไซม์ ยุคแรก ๆ เกี่ยวกับการศึกษากระบวนการหมักน้ำตาลของยีสต์ เอนไซม์ตัวแรก ๆ ที่ศึกษาคือ diastase ใน malt (Jacob Berzelius,1835)

Substrate specificity

Substrate specificity Stereospecificity เช่น trypsin ย่อยได้เฉพาะโปรตีนที่ประกอบด้วย L-amino acid เอนไซม์ในกระบวนการ glycolysis ย่อยได้เฉพาะ D-glucose

Coenzymes “chemical teeth” ช่วยในการทำงานของเอนไซม์ โดยเฉพาะปฏิกิริยา oxidation-reduction และ group transfer Cofactors หมายถึง สารโมเลกุลเล็ก เช่น ไอออนโลหะ Zn2+ ช่วยในการทำงานของ carboxypeptidase A Coenzymes หมายถึง สารอินทรีย์ เช่น NAD+ Prosthetic groups หมายถึง หมู่ที่สร้างพันธะเชื่อมต่อกับโปรตีนของเอนไซม์ เช่น heme

Coenzymes เอนไซม์ที่สมบูรณ์ ทำงานได้ เรียกว่า holoenzyme เอนไซม์ที่ขาด cofactor เรียกว่า apoenzyme

Coenzymes

Coenzymes วิตามินหลาย ๆ ชนิด เป็น precursor ของ coenzyme

Coenzymes

Enzyme nomenclature เดิมใช้ชื่อ substrate มาเติม –ase ต่อมาแบ่งเอนไซม์ออกเป็น 6 classes Systematic name เช่น EC 3.2.1.17 ปัจจุบันนิยมใช้ accepted หรือ recommended names ค้นหาข้อมูลเอนไซม์ได้ที่ http://www.brenda-enzymes.org/

Enzyme nomenclature