สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

เศรษฐกิจ พอเพียง.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
1.ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
กิจกรรม REDD+ ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการตัดไม้ทำลายป่า
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
ความก้าวหน้าการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
โดย...นายประเสริฐ ดอยลอม หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ระบบเกษตรแบบผสมผสาน.
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
การปฏิบัติที่สำคัญซึ่งสัมพันธ์กับความมั่นคง (ด้านเศรษฐกิจ)
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
นโยบายการดำเนินงานที่สำคัญ ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ในปีงบประมาณ พ.ศ.2558
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
แผนงานป้องกันและลดผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลง สภาวะภูมิอากาศ โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรอุทยาน แห่งชาติทางทะเล ( กิจกรรมจัดการแนวปะการังและชายหาด )
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านผาปูน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ กนก ฤกษ์เกษม และนริศ ยิ้มแย้ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
เป้าหมายร่วมแห่งชาติ
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ประเภทโครงการหรือกิจกรรม ลำดับที่ ๘ โรงงานถลุงหรือหลอมเหล็ก
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
1 โดย... นายชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ รองอธิบดีกรมการข้าว.
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต 01999213 สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต

หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในทางเศรษฐศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม เนื่องจากกลไกตลาดไม่สามารถทำงานได้ การมีลักษณะเป็นสินค้าสาธารณะ (public goods) การเกิดผลกระทบภายนอกหรือผลกระทบข้างเคียง (externality) การมีลักษณะเป็นทรัพย์สินร่วม (common property)

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน จัดแบ่งตามการเสริมสร้างสภาพของทรัพยากรต้นทุนและการทำงานของกลไกตลาด Exhaustible marketed resource แร่ธาตุ Renewable marketed resource ปลาทะเล Renewable non-marketed resource ทิวทัศน์ Potentially non-renewable resource น้ำใต้ดิน

ใช้แล้วหมดสภาพไป ต้องพิจารณาว่าจะนำทรัพยากรมาใช้ในแต่ละช่วงเวลาอย่างไร

ใช้แล้วเกิดขึ้นใหม่ได้ นำทรัพยากรขึ้นมาใช้ในแต่ละช่วงเวลาอย่างไร คำนึงถึงการมีใช้ในอนาคตด้วย

เกิดใหม่ได้ แต่ไม่มีราคาปรากฏ ต้องหามูลค่าเพิ่ม ทั้งทางตรงทางอ้อม การนำมาใช้โดยมีการจัดการไม่ดี จะเพิ่มต้นทุนภายนอกกับสังคม

สิ่งแวดล้อมกับระบบเศรษฐกิจ เป็นสินค้าเพื่อบริโภค เช่น อากาศไว้หายใจ น้ำเพื่อดื่ม เป็นแหล่งจัดหาทรัพยากร เช่น ที่ดิน น้ำ เป็นที่รองรับของเสีย เช่น แหล่งน้ำ ดินไว้ฝังกลบขยะ เป็นที่ตั้งถิ่นฐาน

วีดิทัศน์ 10 กบนอกกะลา ตอน เล่นแร่แปรทอง ตอนที่ 1 ขั้นตอนการผลิตทองคำ (บดหยาบ บดละเอียด จับทองคำด้วยถ่านและประจุไฟฟ้า หลอม ได้ทอง 25% ส่งไปฮ่องกง ได้ทองบริสุทธิ์) ความหมายของเลข 9950 999.9 และ 999.99 บนทองคำแท่ง

นโยบายของรัฐด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) กำหนดนโยบายของรัฐด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมไว้ในส่วนที่ 3 (ยุทธศาสตร์การพัฒนา) บทที่ 8

บทที่ 8 ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 1. สถานการณ์การเปลี่ยนแปลง พื้นที่ป่าไม้ยังคงถูกบุกรุกทำลาย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเสื่อมโทรม ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม ขัดแย้งการใช้ที่ดิน ปัญหาการขาดแคลนน้ำ อุทกภัย ความต้องการใช้แร่และพลังงานเพิ่มขึ้น

มลพิษทางอากาศ น้ำและขยะมูลฝอย การใช้สารเคมีภาคเกษตร อุตสาหกรรม การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

2. การประเมินความเสี่ยง การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศทำให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมมากขึ้น สูญเสียพื้นที่ชายฝั่ง ไม่มั่นคงด้านอาหารและพลังงาน ภัยพิบัติธรรมชาติ การผลิตและการบริโภคที่ฟุ่มเฟือย ขาดจิตสำนึกสาธารณะ เทคโนโลยีการผลิตที่ประสิทธิภาพต่ำ การปลูกพืชเชิงเดี่ยว

ความขัดแย้งเชิงนโยบายของการบริหารจัดการภาครัฐ ขาดองค์ความรู้และฐานข้อมูลที่ทันสมัย

วัตถุประสงค์ - เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - เพื่อขับเคลื่อนการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เป็นสังคมคาร์บอนต่ำ - เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและเตรียมความพร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ - เพื่อสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ

เป้าหมาย - รักษาพื้นที่อนุรักษ์ไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 19.0 เพิ่มพื้นที่ป่าให้ได้ร้อยละ 40.0 และเพิ่มพื้นที่ป่าชายเลยไม่น้อยกว่าปีละ 5,000 ไร่ - เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำ เพิ่มพื้นที่ชลประทานปีละ 200,000 ไร่ - ฟื้นฟูคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง โดยเฉพาะอ่าวไทยตอนใน - การจัดการขยะชุมชนถูกหลักสุขาภิบาล - เพิ่มประสิทธิภาพการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก - ชุมชนสามารถอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างเกื้อกูลกัน

วีดิทัศน์ 11 กบนอกกะลา ตอน เล่นแร่แปรทอง ตอนที่ 2 อุตสาหกรรมทองคำในประเทศไทย การทำทองคำเปลว และความสำคัญต่อวิถีชีวิตไทย