โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ด้วยความร่วมมือของภาครัฐและสถาบันการเงิน บริหารและดำเนินการโดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน สนับสนุนโดย กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
วัตถุประสงค์ โครงสร้าง หลักเกณฑ์โครงการ เพื่อช่วยส่งเสริมและผลักดันให้เกิดการลงทุนด้านการอนุรักษ์พลังงาน เพื่อสร้างความมั่นใจและความคุ้นเคยให้แก่สถาบันการเงินให้การกู้ยืมแก่โครงการอนุรักษ์พลังงาน วงเงินโครงการ : 2,000 ล้านบาท อายุเงินกู้ : ไม่เกิน 7 ปี (ปลอดเงินต้นใน ปีแรกได้ หากเห็นชอบจาก พพ.) ช่องทางปล่อยกู้ : ผ่านสถาบันการเงิน ผู้มีสิทธิ์กู้ : อาคาร/โรงงาน/ESCO นำไปลงทุนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน วงเงินกู้ : ไม่เกิน 50 ล้านบาทต่อโครงการ อัตราดอกเบี้ย : ไม่เกินร้อยละ 4 ต่อปี
กระบวนการดำเนินโครงการ พพ. จัดสรร ให้ธนาคาร ธนาคารปล่อยกู้ ให้ โรงงาน/อาคาร ธนาคาร คืนเงินให้ พพ. ตามสัญญา โรงงาน/อาคาร ดำเนินการอนุรักษ์ โรงงาน/อาคาร ส่งเงินคืนให้ ธนาคาร
โครงการที่มีสิทธิ์รับการสนับสนุน การลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่เข้ามาในอาคาร การปรับอากาศอย่างมีประสิทธิภาพ การใช้วัสดุก่อสร้างอาคารที่จะช่วยอนุรักษ์พลังงาน การใช้แสงสว่างในอาคารอย่างมีประสิทธิภาพ การใช้และการติดตั้งเครื่องจักร อุปกรณ์และวัสดุที่ก่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร การใช้ระบบควบคุมการทำงานของเครื่องจักรและอุปกรณ การปรับปรุงประสิทธิภาพของการเผาไหม้เชื้อเพลิง การป้องกันการสูญเสียพลังงาน การนำพลังงานที่เหลือจากการใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ การเปลี่ยนไปใช้พลังงานอีกประเภทหนึ่ง การปรับปรุงการใช้ไฟฟ้าด้วยวิธี ปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า การลดความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด การใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าให้เหมาะสมกับภาระ ฯลฯ การใช้เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูง การอนุรักษ์พลังงานโดยวิธีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ค่าใช้จ่ายที่สามารถรวมในการลงทุนได้ - ค่าอุปกรณ์ และค่าติดตั้ง - ค่าที่ปรึกษาที่ใช้ในการออกแบบ ควบคุม และรับประกันผลการประหยัด - ค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการติดตั้งหรือจำเป็นในการใช้งานของอุปกรณ์เครื่องจักร เช่น ค่าก่อสร้างฐานรองรับเครื่องจักรอุปกรณ์ - ค่าขนส่ง ค่ารื้อถอน ภาษีนำเข้า ภาษีมูลค่าเพิ่มของค่าใช้จ่ายข้างต้น ค่าใช้จ่ายที่ไม่เข้าข่ายในการลงทุน - ค่าที่ดิน ค่าปรับปรุงที่ดิน หรือค่าใช้จ่ายอื่นเพื่อที่ดิน - ค่าสิ่งก่อสร้างอื่นที่มิได้มีความจำเป็นโดยตรงกับการใช้ หรือการติดตั้ง อุปกรณ์/เครื่องจักร เช่น สถานีจ่ายไฟฟ้า หม้อแปลงหลัก ค่าก่อสร้างอาคาร
ผลประโยชน์ที่ได้รับตลอดอายุอุปกรณ์ ระยะที่ 1 ณ วันที่ 13 ก.ย. 48 24,162 11,444 3,531 1,973
ผลการดำเนินงานรายเดือน ระยะที่ 1
ประเภทของผู้รับการสนับสนุน ระยะที่ 1 ณ วันที่ 13 ก.ย. 48
กลุ่มมาตรการที่ขอรับการสนับสนุน ระยะที่ 1 ณ วันที่ 13 ก.ย. 48
เงินลงทุนแต่ละมาตรการ ระยะที่ 1 ณ วันที่ 13 ก.ย. 48 ล้านบาท
ตัวอย่างโครงการ บัวสมหมาย นันยางการทออุตสาหกรรม เปลี่ยนเครื่องจักร(เครื่องย้อม) ประสิทธิภาพสูง เงินลงทุน 47 ล้านบาท ประหยัด 11 ล้านบาท/ปี คืนทุน 4.3 ปี บัวสมหมาย ติดตั้งเครื่องจักรผลิตไฟฟ้า ขนาด 6MW ใช้เชื้อเพลิงแกลบ เงินลงทุน 150 ล้านบาท ประหยัด 37.5 ล้านบาท/ปี คืนทุน 4 ปี
ตัวอย่างโครงการ ฟิวเจอร์เท็กซ์ เปลี่ยนเครื่องจักร(เครื่องย้อม) ประสิทธิภาพสูง เงินลงทุน 9.2 ล้านบาท ประหยัด 5.5 ล้านบาท/ปี คืนทุน 1.7 ปี เปลี่ยนหม้อต้มไอน้ำมันร้อน โดยใช้เชื้อเพลิงขี้เลื่อยและ วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ทดแทนน้ำมันเตา เงินลงทุน 10 ล้านบาท ประหยัด 13 ล้านบาท/ปี คืนทุน 0.8 ปี
ตัวอย่างโครงการ สายไฟฟ้าบางกอกเบิ้ล เปลี่ยนเครื่องจักร (เครื่องผลิตสายไฟฟ้า) ประสิทธิภาพสูง เงินลงทุน 25 ล้านบาท ประหยัด 10 ล้านบาท/ปี คืนทุน 2.5 ปี
ตัวอย่างโครงการ โรงพยาบาลวิภาวดี ติดตั้งเครื่องมือบริหารจัดการ และควบคุมการใช้ไฟฟ้า เงินลงทุน 18 ล้านบาท ประหยัด 3 ล้านบาท/ปี คืนทุน 6 ปี
ตัวอย่างโครงการ เอเชี่ยน เคมิคัล เอเชี่ยน สุพีเรียฟู้ดส์ เปลี่ยนหม้อไอน้ำประสิทธิภาพสูง เงินลงทุน 2.2 ล้านบาท ประหยัด .4 ล้านบาท/ปี คืนทุน 5.9 ปี เอเชี่ยน สุพีเรียฟู้ดส์ ติดตั้ง gas turbine cogeneration ขนาด 2,761 kW เงินลงทุน 200 ล้านบาท ประหยัด 50 ล้านบาท/ปี คืนทุน 4 ปี
ตัวอย่างโครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสีย บ.เอส.เค.เอส อินเตอร์เนชั่นแนล สตาร์ช บ.ธนวัฒน์พืชผล จำกัด บ.ชอไชยวัฒน์อุตสาหกรรม จำกัด บ.โรงงานแป้งมันตระกูลเล็ก จำกัด บ.ฉลองอุตสาหกรรมน้ำยางข้น จำกัด บ.ท่าชนะน้ำมันปาล์ม จำกัด บ.ปาล์มน้ำมันธรรมชาติ จำกัด บ.สีมาอินเตอร์โปรดักส์ จำกัด บ.ปาล์มน้ำมันธรรมชาติ จำกัด (ชุมพร) บ.เอส.ดับเบิ้ลยู.มัลติเทค สตาร์ช จำกัด บ.โวชองฟาร์ม จำกัด บ.หนองบัวฟาร์ม แอนด์ คันทรีโฮม วิลเลจ จำกัด บ.เยนเนรัล สตาร์ช จำกัด
ภาพรวมความสำเร็จของโครงการ ระยะที่ 1 Environmental Benefits Oil Imports Reduction EE Investment Stimulate Banks ลดการนำเข้าน้ำมันดิบ 170 ล้านลิตร/ปี ชะลอการลงทุนเพื่อสร้างโรงไฟฟ้า 1,238 ล้านบาท ลดปัญหามลภาวะ ลดปริมาณ SOx 25,904 Ton/ปี ลดปริมาณ NOx 15,838 Ton/ปี ผลักดันให้เกิดการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงาน กว่า 3,500 ล้านบาท เกิดผลประหยัดพลังงานมากกว่า 1,635 ล้านบาทต่อปี ประหยัดตลอดอายุอุปกรณ์กว่า 24,162 ล้านบาท สถาบันการเงิน 6 แห่งร่วมโครงการ อีก 4 แห่ง ขอเข้าร่วม กระตุ้นความสนใจในตลาดสินเชื่อด้านอนุรักษ์พลังงาน
โครงการ ระยะที่ 2 ความต้องการการลงทุนด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน ความคล่องตัวในการหาแหล่งเงินทุนของผู้ประกอบการขนาดกลางขนาดย่อม เงินสมทบจากสถาบันการเงิน กว่า 10,000 ล้านบาท จาก 11 ธนาคาร เปิดโครงการ ปลายกุมภา 49
www.dede.go.th click โครงการเงินหมุนเวียน ศูนย์อำนวยการโครงการ พพ. 02 226 3850, 02 226 3851 (fax)