บทบาทการอนุรักษ์พลังงาน ในอนาคต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
ภารกิจกำกับดูแลและตรวจสอบภาษี
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ภาพรวมสถานการณ์พลังงานปี 2548
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
งบประม าณ เงินทุน หมุนเวียนฯ งบบุคลากร ล้านบาท งบดำเนินงาน ล้านบาท ล้านบาท งบบุคลากร 4. 8 ล้านบาท งบดำเนินงาน 619 ล้านบาท
ความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการและกิจกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
นโยบายอนุรักษ์พลังงาน
แนวทางการติดตามประเมินผล แผนอนุรักษ์พลังงานระยะที่ 3 ( )
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
กลุ่มที่ 5 : บุคคลที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 10/2552 เรื่อง ประเภท ขนาด เงื่อนไข และสิทธิประโยชน์ของแต่ละประเภทกิจการ ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน (สกอ.)
โครงการส่งเสริมให้ผู้ ประกอบในกลุ่มนิคม อุตสาหกรรมพื้นที่มาบ ตาพุด เพิ่มอัตราการ นำน้ำกลับมาใช้ใหม่ ปี
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
แนวนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การปลด cap วงเงิน.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาทการอนุรักษ์พลังงาน ในอนาคต อำนวย ทองสถิต รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน งานสัมมนา “อนาคตพลังงานไทย” 4 พฤษภาคม 2550

ภาพรวมสถานการณ์พลังงานปี 2549 โลหะมูลฐาน 4.4% ผลิตภัณฑ์โลหะ 6.5% เหมืองแร่ 0.2 % อื่นๆ 6.1% เกษตร 5.3% อาหารและเครื่องดื่ม 28.2% ขนส่ง 36.0% อุตสาหกรรม37.8 % สิ่งทอ 4.5% ธุรกิจ 6.2% ที่อยู่อาศัย 14.3% แสดงการใช้พลังงานของประเทศไทย Sector ต่างๆ ซึ่งกลุ่มอโลหะ และกลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม จะมีการใช้พลังงานสูงสุด (มากกว่า 60 % ของการใช้พลังงานในอุตสาหกรรมทั้งหมด) ก่อสร้าง 0.2 % เคมี 12.0% อโลหะ 33.8% กระดาษ 3.6% ไม้และเครื่องเรือน 0.9% การใช้พลังงานในภาคอุตฯและธุรกิจ 27,768 ktoe (529,000 ล้านบาท) เติบโต 4.84% ที่มา : รายงานการใช้พลังงานปี 2549 พพ.

การใช้พลังงานในสาขาอุตสาหกรรมการผลิต ปี 41 –48 แสดงถึงการใช้พลังงานที่เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยปีละ 7% ซึ่งหมายถึง การนำเข้าพลังงานที่สูงขึ้น และความต้องการโรงไฟฟ้า และท่อก๊าซที่เพิ่มขึ้น

มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในสาขาอุตสาหกรรมการผลิต ปี 41 –48 แสดงการเติบโตของ GDP ในภาคอุตสากรรมในช่วงปี 2541 ถึง 2548 ที่ประมาณ 6.8% ต่อปี ซึ่งจะต่ำกว่าการเติบโตของการใช้พลังงานเล็กน้อย

ค่า Energy Elasticity ปี 41 –48 AVG Energy Elasticity 1.05:1 แสดงอัตราส่วนการเติบโตของการใช้พลังงานต่อการเติบโตของเศรษฐกิจ ซึ่งเดิมช่วง 2530-2540 อัตราส่วนนี้จะมีค่าประมาณ 1.4 : 1 แต่ด้วยนโยบายด้านอนุรักษ์พลังงานทำให้อัตราส่วนดังกล่าวลดลงเป็นประมาณ 1.05 : 1

ค่า Energy Intensity ปี 41 –48 จากภาพนี้จะเห็นได้ว่า ค่าการใช้พลังงานต่อรายได้มวลรวมของประเทศจะค่อนข้างคงที่

ประหยัดพลังงาน’54 ประมาณ3,800 ktoe คิดเป็นมูลค่า 73,000 ล้านบาท เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานปี 2548-2554 ktoe Energy Elasticity = Growth (Energy) Growth (GDP) 75,000 ล้านบาท/ปี EE 0.85 : 1 30,000 ล้านบาท/ปี EE 0.9 : 1 เป้าหมายจาก 1.2 : 1  0.85 : 1 ประหยัดพลังงาน’54 ประมาณ3,800 ktoe คิดเป็นมูลค่า 73,000 ล้านบาท ศึกษา สาธิตและเผยแพร่เทคโนโลยีขั้นสูง High Tech. Process Improvement Energy Management กระทรวงพลังงานมีเป้าหมายที่สร้างเสริมประสิทธิภาพการใช้พลังงานให้ดีขึ้น โดยมีเป้าหมายที่จะทำให้อัตราส่วนการเจริญเติบโตระหว่างการใช้พลังงานต่ำกว่าการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ 0.85 ต่อ 1 ในปี 2554 ซึ่งหากสำเร็จจะเกิดผลประหยัดคิดเป็นมูลค่ากว่า 7 หมื่นล้านบาท ในการดำเนินการ พพ. มีวิธีการ/เครื่องมือแบบต่าง ๆ ที่จะช่วยผู้ประกอบการ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ซึ่งระดับแรก จะเป็นเรื่องของการบริหารจัดการ ซึ่งจะเป็นเรื่องของคน ความรู้ และจิตสำนึก ระดับที่สอง จะเป็นการปรับปรุงการผลิต ซึ่งจะต้องมีการใช้เงินทุนในการสนับสนุนช่วยเหลือ และระดับที่สาม จะเป็นเรื่องของการใช้เทคโนโลยีระดับสูง ซึ่งจะมีการศึกษา สาธิต และเผยแพร่ให้แก่ภาคอุตสาหกรรมพิจารณานำไปใช้ประโยชน์ มาตรการภาษี กรอบการดำเนินงาน เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ฝึกอบรม /ให้ความรู้ กฏหมาย การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ข้อมูล/ข่าวสาร

กองทุนเพื่อส่งเสริมอนุรักษ์พลังงาน ที่มา รายได้ และการบริหาร เก็บภาษี 4 – 7 สตางค์ต่อลิตรจากการบริโภคน้ำมันเบนซิน ดีเซล น้ำมันก๊าด และน้ำมันเตา มีรายได้ประมาณ 2000 – 2500 ล้านบาทต่อปี กำกับดูแลโดยคณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมอนุรักษ์พลังงาน มี รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ใช้ในการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งด้าน การศึกษา วิจัย พัฒนา สาธิต และการส่งเสริมให้นำไปใช้ประโยชน์ รวมถึงการศึกษาเชิงนโยบาย การฝึกอบรม ให้การส่งเสริมในรูปของเงินให้เปล่า เงินหมุนเวียน

มาตรการ ผลงานและแผน กฏหมาย/ข้อบังคับ เสนอแก้ไขกฎหมาย ดำเนินการแล้ว ผลการดำเนินงาน 46-เมษา 50 งานระยะต่อไป ลดขั้นตอนการทำ Prelim & Detailed audit เปิดโอกาสให้โรงงาน/ อาคารจัดทำT&Pได้เอง ยกเลิกการให้เงิน สนับสนุนโดยตรง (1แสนบาท, 5 แสนบาท , เงินลงทุน) ปฏิบัติตามกฏหมาย 87% อาคารควบคุม 1,917 แห่ง - มีผู้รับผิดชอบ 1,598 แห่ง - ส่ง บพอ. 1,743 แห่ง - ส่ง T&P 1,384 แห่ง - ศักยภาพผลประหยัด 593ล้านบาท โรงงานควบคุม 3,160 แห่ง - มีผู้รับผิดชอบ 2,253 แห่ง - ส่ง บพร. 2,587 แห่ง - ส่ง T&P 1,598 แห่ง - ศักยภาพผลประหยัด3,640ล้านบาท เสนอแก้ไขกฎหมาย - แยกการกำกับอาคารของรัฐและเอกชนออกจากกัน - ออกมาตรฐานการจัดการพลังงานในโรงงาน/อาคาร - ปรับมาตรฐานการใช้พลังงานในอาคารให้เหมาะสำหรับอาคารแต่ละประเภท - ปรับการบังคับให้เหมาะสมกับขนาดของโรงงาน/อาคาร ปัญหาอุปสรรค โรงงาน/อาคารขาดความพร้อมด้านบุคลากร โดยเฉพาะภาครัฐ เช่น หน่วยงานศาล ขาดการบังคับใช้บทลงโทษ - ค่าธรรมเนียมไฟฟ้าพิเศษ ใช้ได้เฉพาะผู้ใช้ไฟฟ้าเท่านั้น ไม่เสมอภาค - ไม่มีมาตรฐานการใช้พลังงานในโรงงาน - มาตรฐานการใช้พลังงานในอาคารบางแห่ง ไม่คุ้มกับการลงทุน

มาตรการ ผลงานและแผน การบริหารจัดการพลังงานแบบมีส่วนร่วม ลักษณะโครงการ ผลการดำเนินงาน ’45-’49 งานระยะต่อไป ส่งที่ปรึกษาเข้าไปฝึกอบรมและกระตุ้นการดำเนินการแบบมีส่วนร่วม และสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งระดับบริหาร วิศวกรรม ปฏิบัติการ สร้างทีมงานและระบบการจัดการพลังงานเพื่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานอย่างยั่งยืน รวม 2,027 แห่ง โรงงานควบคุม 854 แห่ง (โลหะ, อาหาร, เคมี, สิ่งทอ) อาคาร 479 แห่ง (ห้างสรรพสินค้า, อาคารสำนักงาน) ผลประหยัด 2,071 ล้านบาท/ปี (Housekeeping, Low cost measures) ปี 50 โรงงาน/อาคาร 510 แห่ง ผลประหยัด 450 ล้านบาท/ปี ระยะยาว พัฒนามาตรฐานการจัดการพลังงาน ผลักดันเป็นมาตรฐานอุตสาหกรรม เอกชนร่วมออกค่าใช้จ่ายในการจัดจ้างที่ปรึกษา (Cost Sharing) ปัญหาอุปสรรค วัฒนธรรมองค์กรของโรงงาน/อาคาร โรงงาน/อาคารขาดความใส่ใจที่จะดำเนินการต่อ

มาตรการ ผลงานและแผน ฝึกอบรม /ให้ความรู้ หลักสูตร ผลการดำเนินงาน ’45-’49 งานระยะต่อไป อบรมผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญ/อาวุโส PRE สามัญ ตาม พรบ. PRE อาวุโสเสริมความรู้ความสามารถ อบรมการอนุรักษ์พลังงานหลักสูตรอื่นๆ การบริหารจัดการพลังงาน การตรวจวิเคราะห์การใช้พลังงาน การอนุรักษ์พลังงานในระบบการใช้พลังงานหลัก การอนุรักษ์พลังงานแยกตามประเภทอุตสาหกรรม/อาคารธุรกิจ การเดินเครื่องจักรและบำรุงรักษา ร่วมมือกับกรมอาชีวศึกษา บรรจุหลักสูตรเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน อบรม PRE สามัญ 6,000 คน อบรม PRE อาวุโส 250 คน อบรมหลักสูตรอื่นๆ 6,750 คน ได้บรรจุวิชาด้านอนุรักษ์พลังงาน 4 วิชาในหลักสูตรของกรมอาชีวศึกษา ได้อบรมครูวิทยาลัยเทคนิค(นำร่อง) 40 คน และนักศึกษา 2,250 คน ปี 50 อบรม 10,000 คน ระยะยาว พพ. พัฒนาหลักสูตรและให้เอกชนจัดอบรมโดยเก็บค่าใช้จ่ายจากผู้เข้ารับการอบรม อบรมครูวิทยาลัยเทคนิค 500 คน

มาตรการ ผลงานและแผน ข้อมูล/ข่าวสาร ผลการดำเนินงาน ’45-’49 งานระยะต่อไป ศูนย์รวมองค์ความรู้ : - พัฒนารวบรวม แยกแยะ วิเคราะห์ ข้อมูล/องค์ ความรู้ด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน - จัดทำระบบเผยแพร่ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงได้สะดวก รวดเร็ว คลีนิกพลังงาน หน่วยลูกค้าสัมพันธ์ : - ถ่ายทอดองค์ความรู้ ข้อมูลข่าวสารด้านพลังงาน - จัดทำคู่มือ สื่อความรู้ต่างๆ ปี 46-49 ให้บริการผู้ประกอบการ ประชาชนทั้งหมด 13,300 ครั้ง พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและการให้บริการ สะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น จัดตั้งเครือข่ายวิชาการในสาขาอุตสาหกรรมต่างๆ

มาตรการ ผลงานและแผน มาตรการภาษี ผลการดำเนินงาน ’45-’49 ลักษณะโครงการ Cost-Based - ผู้เข้าร่วมโครงการ 94 ราย - ผลประหยัด 375 ล้านบาท/ปี - ลงทุน 597 ล้านบาท(เอกชน) - ลดภาษี 112 ล้านบาท Performance-Based - อนุมัติเข้าร่วมโครงการ 76 ราย - ผลประหยัด 408 ล้านบาท/ปี - ลงทุน 582 ล้านบาท - เงินอุดหนุนเพื่อชดเชย ภาษี 44 ล้านบาท BOI - ผู้ได้รับการส่งเสริม 14 ราย (ผลิต5ราย, ESCO 6 ราย,ยกเว้นอากร3 ราย) - ผลประหยัด 99 ล้านบาท งานระยะต่อไป ปี 50 มีการดำเนินการต่อเนื่อง ผลประหยัด 330 ล้านบาท/ปี ระยะยาว กำหนดวิธีการดำเนินงานที่ชัดเจนกับกรมสรรพากร หากเป็น Cost-based จะต้องปรับปรุง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และเพิ่มสิทธิประโยชน์ (เสนอ 2 เท่า)รวมถึงลดขั้นตอนการตรวจสอบผลประหยัด Cost-based :หักค่าใช้จ่าย 1.25เท่าของเงินลงทุน Performance-based :หักคืนภาษี 30% ของผลประหยัด BOI : ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี,ยกเว้นอากรขาเข้า ปัญหาอุปสรรค ยังขาดทิศทางที่ชัดเจน (Cost/Performance) ขาดความเชื่อมั่น ขัดกับผลงานที่ต้องทำจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Incentive ไม่จูงใจ(เสนอ เพิ่มเป็น 2 เท่า) ขั้นตอนยุ่งยาก

มาตรการ ผลงานและแผน เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ลักษณะโครงการ ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป เป็นเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ โดยปล่อยผ่านสถาบันการเงินในอัตราดอกเบี้ยไม่เกิน 4 % สำหรับการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน เฟส 1: (46-48) ผู้เข้าร่วมโครงการ 80 ราย เกิดการลงทุน 3,500 ล้านบาท จากเงินหมุนเวียน 1,908 ล้านบาท ผลประหยัด 1,495 ล้านบาท/ปี เฟส 2: (49) ผู้เข้าร่วมโครงการ 75 ราย เกิดการลงทุน 2,794 ล้านบาท จากเงินหมุนเวียน 1,445 ล้านบาท ผลประหยัด 1,258 ล้านบาท/ปี ปี 50 ผลประหยัด 1,500 ล้านบาท/ปี ระยะยาว พพ. ลดบทบาทการเป็นแหล่งเงินทุน เปลี่ยนเป็นการให้บริการด้านเทคนิค อบรมเจ้าหน้าที่สถาบันการเงินให้มีความรู้ด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน ปัจจุบันในโครงการเงินหมุนเวียน ระยะที่ 2 มีผู้ขอกู้เพิ่มอีกกว่า 10 ราย กำลังรออนุมัติอย่างไรก็ตามกระทรวงพลังงานได้เตรียมจัดสรรงบประมาณไว้อีก 2,000 ล้านบาท สำหรับโครงการระยะที่ 3 ที่จะเน้นด้านพลังงานทดแทนมากขึ้น สถาบันการเงินที่เข้าร่วมโครงการ

มาตรการ ผลงานและแผน ศึกษา สาธิตและเผยแพร่เทคโนโลยีขั้นสูง ลักษณะโครงการ ผลการดำเนินงาน ’45-’49 งานระยะต่อไป เลือกกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจและมีการใช้พลังงานสูง ศึกษาพฤติกรรมการใช้พลังงานและกระบวนการผลิตรวมถึงเทคโนโลยีขั้นสูงที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานและมีศักยภาพในการขยายผล สาธิตเทคโนโลยีกับโรงงานตัวอย่าง(ให้เงินอุดหนุน 20%)และเผยแพร่ให้กลุ่มอุตสาหกรรม ได้คัดเลือกอุตสาหกรรมและศึกษาการใช้พลังงานโดยละเอียดใน 6 กลุ่มอุตสาหกรรม - อาหาร - สิ่งทอ - พลาสติก - เหล็ก - อิเล็กทรอนิกส์ - ปิโตรเคมี - อโลหะ - กระดาษ - โรงแรม - โรงพยาบาล ปี 50 สาธิตเทคโนโลยีระดับสูง เช่น เครื่องฉีดพลาสติกประสิทธิภาพสูง Hybrid heating Slag foaming technology Innovative heat storage Coal water mixer ผลประหยัด 175 ล้านบาท/ปี

มาตรการ ผลงานและแผน ความร่วมมือภาคเอกชน ลักษณะโครงการ ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป ปี 50 ขยายความร่วมมือกับสภาอุตสาหกรรมและการนิคมอุตสาหกรรม ร่วมมือกับหอการค้าไทย นิคมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมฯ เพื่อจัดตั้งศูนย์ปรึกษาฯ ร่วมมือกับกลุ่มอุตสาหกรรม เครือธุรกิจต่างๆ โดย พพ ไปให้ความรู้ เพื่อสร้างทีมงานและสร้างผู้เชี่ยวชาญด้านอนุรักษ์พลังงาน เพื่อมุ่งหวังให้ภาคเอกชนขยายผลการดำเนินการระหว่างกันเอง

Organizational Restructure Holistic Approach Mission Adjustment Organizational Restructure Value Creation Paradigm Shift Enforcer / Regulator Facilitator / Supporter www.dede.go.th