บทบาทการอนุรักษ์พลังงาน ในอนาคต อำนวย ทองสถิต รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน งานสัมมนา “อนาคตพลังงานไทย” 4 พฤษภาคม 2550
ภาพรวมสถานการณ์พลังงานปี 2549 โลหะมูลฐาน 4.4% ผลิตภัณฑ์โลหะ 6.5% เหมืองแร่ 0.2 % อื่นๆ 6.1% เกษตร 5.3% อาหารและเครื่องดื่ม 28.2% ขนส่ง 36.0% อุตสาหกรรม37.8 % สิ่งทอ 4.5% ธุรกิจ 6.2% ที่อยู่อาศัย 14.3% แสดงการใช้พลังงานของประเทศไทย Sector ต่างๆ ซึ่งกลุ่มอโลหะ และกลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม จะมีการใช้พลังงานสูงสุด (มากกว่า 60 % ของการใช้พลังงานในอุตสาหกรรมทั้งหมด) ก่อสร้าง 0.2 % เคมี 12.0% อโลหะ 33.8% กระดาษ 3.6% ไม้และเครื่องเรือน 0.9% การใช้พลังงานในภาคอุตฯและธุรกิจ 27,768 ktoe (529,000 ล้านบาท) เติบโต 4.84% ที่มา : รายงานการใช้พลังงานปี 2549 พพ.
การใช้พลังงานในสาขาอุตสาหกรรมการผลิต ปี 41 –48 แสดงถึงการใช้พลังงานที่เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยปีละ 7% ซึ่งหมายถึง การนำเข้าพลังงานที่สูงขึ้น และความต้องการโรงไฟฟ้า และท่อก๊าซที่เพิ่มขึ้น
มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในสาขาอุตสาหกรรมการผลิต ปี 41 –48 แสดงการเติบโตของ GDP ในภาคอุตสากรรมในช่วงปี 2541 ถึง 2548 ที่ประมาณ 6.8% ต่อปี ซึ่งจะต่ำกว่าการเติบโตของการใช้พลังงานเล็กน้อย
ค่า Energy Elasticity ปี 41 –48 AVG Energy Elasticity 1.05:1 แสดงอัตราส่วนการเติบโตของการใช้พลังงานต่อการเติบโตของเศรษฐกิจ ซึ่งเดิมช่วง 2530-2540 อัตราส่วนนี้จะมีค่าประมาณ 1.4 : 1 แต่ด้วยนโยบายด้านอนุรักษ์พลังงานทำให้อัตราส่วนดังกล่าวลดลงเป็นประมาณ 1.05 : 1
ค่า Energy Intensity ปี 41 –48 จากภาพนี้จะเห็นได้ว่า ค่าการใช้พลังงานต่อรายได้มวลรวมของประเทศจะค่อนข้างคงที่
ประหยัดพลังงาน’54 ประมาณ3,800 ktoe คิดเป็นมูลค่า 73,000 ล้านบาท เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานปี 2548-2554 ktoe Energy Elasticity = Growth (Energy) Growth (GDP) 75,000 ล้านบาท/ปี EE 0.85 : 1 30,000 ล้านบาท/ปี EE 0.9 : 1 เป้าหมายจาก 1.2 : 1 0.85 : 1 ประหยัดพลังงาน’54 ประมาณ3,800 ktoe คิดเป็นมูลค่า 73,000 ล้านบาท ศึกษา สาธิตและเผยแพร่เทคโนโลยีขั้นสูง High Tech. Process Improvement Energy Management กระทรวงพลังงานมีเป้าหมายที่สร้างเสริมประสิทธิภาพการใช้พลังงานให้ดีขึ้น โดยมีเป้าหมายที่จะทำให้อัตราส่วนการเจริญเติบโตระหว่างการใช้พลังงานต่ำกว่าการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ 0.85 ต่อ 1 ในปี 2554 ซึ่งหากสำเร็จจะเกิดผลประหยัดคิดเป็นมูลค่ากว่า 7 หมื่นล้านบาท ในการดำเนินการ พพ. มีวิธีการ/เครื่องมือแบบต่าง ๆ ที่จะช่วยผู้ประกอบการ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ซึ่งระดับแรก จะเป็นเรื่องของการบริหารจัดการ ซึ่งจะเป็นเรื่องของคน ความรู้ และจิตสำนึก ระดับที่สอง จะเป็นการปรับปรุงการผลิต ซึ่งจะต้องมีการใช้เงินทุนในการสนับสนุนช่วยเหลือ และระดับที่สาม จะเป็นเรื่องของการใช้เทคโนโลยีระดับสูง ซึ่งจะมีการศึกษา สาธิต และเผยแพร่ให้แก่ภาคอุตสาหกรรมพิจารณานำไปใช้ประโยชน์ มาตรการภาษี กรอบการดำเนินงาน เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ฝึกอบรม /ให้ความรู้ กฏหมาย การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ข้อมูล/ข่าวสาร
กองทุนเพื่อส่งเสริมอนุรักษ์พลังงาน ที่มา รายได้ และการบริหาร เก็บภาษี 4 – 7 สตางค์ต่อลิตรจากการบริโภคน้ำมันเบนซิน ดีเซล น้ำมันก๊าด และน้ำมันเตา มีรายได้ประมาณ 2000 – 2500 ล้านบาทต่อปี กำกับดูแลโดยคณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมอนุรักษ์พลังงาน มี รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ใช้ในการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งด้าน การศึกษา วิจัย พัฒนา สาธิต และการส่งเสริมให้นำไปใช้ประโยชน์ รวมถึงการศึกษาเชิงนโยบาย การฝึกอบรม ให้การส่งเสริมในรูปของเงินให้เปล่า เงินหมุนเวียน
มาตรการ ผลงานและแผน กฏหมาย/ข้อบังคับ เสนอแก้ไขกฎหมาย ดำเนินการแล้ว ผลการดำเนินงาน 46-เมษา 50 งานระยะต่อไป ลดขั้นตอนการทำ Prelim & Detailed audit เปิดโอกาสให้โรงงาน/ อาคารจัดทำT&Pได้เอง ยกเลิกการให้เงิน สนับสนุนโดยตรง (1แสนบาท, 5 แสนบาท , เงินลงทุน) ปฏิบัติตามกฏหมาย 87% อาคารควบคุม 1,917 แห่ง - มีผู้รับผิดชอบ 1,598 แห่ง - ส่ง บพอ. 1,743 แห่ง - ส่ง T&P 1,384 แห่ง - ศักยภาพผลประหยัด 593ล้านบาท โรงงานควบคุม 3,160 แห่ง - มีผู้รับผิดชอบ 2,253 แห่ง - ส่ง บพร. 2,587 แห่ง - ส่ง T&P 1,598 แห่ง - ศักยภาพผลประหยัด3,640ล้านบาท เสนอแก้ไขกฎหมาย - แยกการกำกับอาคารของรัฐและเอกชนออกจากกัน - ออกมาตรฐานการจัดการพลังงานในโรงงาน/อาคาร - ปรับมาตรฐานการใช้พลังงานในอาคารให้เหมาะสำหรับอาคารแต่ละประเภท - ปรับการบังคับให้เหมาะสมกับขนาดของโรงงาน/อาคาร ปัญหาอุปสรรค โรงงาน/อาคารขาดความพร้อมด้านบุคลากร โดยเฉพาะภาครัฐ เช่น หน่วยงานศาล ขาดการบังคับใช้บทลงโทษ - ค่าธรรมเนียมไฟฟ้าพิเศษ ใช้ได้เฉพาะผู้ใช้ไฟฟ้าเท่านั้น ไม่เสมอภาค - ไม่มีมาตรฐานการใช้พลังงานในโรงงาน - มาตรฐานการใช้พลังงานในอาคารบางแห่ง ไม่คุ้มกับการลงทุน
มาตรการ ผลงานและแผน การบริหารจัดการพลังงานแบบมีส่วนร่วม ลักษณะโครงการ ผลการดำเนินงาน ’45-’49 งานระยะต่อไป ส่งที่ปรึกษาเข้าไปฝึกอบรมและกระตุ้นการดำเนินการแบบมีส่วนร่วม และสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งระดับบริหาร วิศวกรรม ปฏิบัติการ สร้างทีมงานและระบบการจัดการพลังงานเพื่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานอย่างยั่งยืน รวม 2,027 แห่ง โรงงานควบคุม 854 แห่ง (โลหะ, อาหาร, เคมี, สิ่งทอ) อาคาร 479 แห่ง (ห้างสรรพสินค้า, อาคารสำนักงาน) ผลประหยัด 2,071 ล้านบาท/ปี (Housekeeping, Low cost measures) ปี 50 โรงงาน/อาคาร 510 แห่ง ผลประหยัด 450 ล้านบาท/ปี ระยะยาว พัฒนามาตรฐานการจัดการพลังงาน ผลักดันเป็นมาตรฐานอุตสาหกรรม เอกชนร่วมออกค่าใช้จ่ายในการจัดจ้างที่ปรึกษา (Cost Sharing) ปัญหาอุปสรรค วัฒนธรรมองค์กรของโรงงาน/อาคาร โรงงาน/อาคารขาดความใส่ใจที่จะดำเนินการต่อ
มาตรการ ผลงานและแผน ฝึกอบรม /ให้ความรู้ หลักสูตร ผลการดำเนินงาน ’45-’49 งานระยะต่อไป อบรมผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญ/อาวุโส PRE สามัญ ตาม พรบ. PRE อาวุโสเสริมความรู้ความสามารถ อบรมการอนุรักษ์พลังงานหลักสูตรอื่นๆ การบริหารจัดการพลังงาน การตรวจวิเคราะห์การใช้พลังงาน การอนุรักษ์พลังงานในระบบการใช้พลังงานหลัก การอนุรักษ์พลังงานแยกตามประเภทอุตสาหกรรม/อาคารธุรกิจ การเดินเครื่องจักรและบำรุงรักษา ร่วมมือกับกรมอาชีวศึกษา บรรจุหลักสูตรเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน อบรม PRE สามัญ 6,000 คน อบรม PRE อาวุโส 250 คน อบรมหลักสูตรอื่นๆ 6,750 คน ได้บรรจุวิชาด้านอนุรักษ์พลังงาน 4 วิชาในหลักสูตรของกรมอาชีวศึกษา ได้อบรมครูวิทยาลัยเทคนิค(นำร่อง) 40 คน และนักศึกษา 2,250 คน ปี 50 อบรม 10,000 คน ระยะยาว พพ. พัฒนาหลักสูตรและให้เอกชนจัดอบรมโดยเก็บค่าใช้จ่ายจากผู้เข้ารับการอบรม อบรมครูวิทยาลัยเทคนิค 500 คน
มาตรการ ผลงานและแผน ข้อมูล/ข่าวสาร ผลการดำเนินงาน ’45-’49 งานระยะต่อไป ศูนย์รวมองค์ความรู้ : - พัฒนารวบรวม แยกแยะ วิเคราะห์ ข้อมูล/องค์ ความรู้ด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน - จัดทำระบบเผยแพร่ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงได้สะดวก รวดเร็ว คลีนิกพลังงาน หน่วยลูกค้าสัมพันธ์ : - ถ่ายทอดองค์ความรู้ ข้อมูลข่าวสารด้านพลังงาน - จัดทำคู่มือ สื่อความรู้ต่างๆ ปี 46-49 ให้บริการผู้ประกอบการ ประชาชนทั้งหมด 13,300 ครั้ง พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและการให้บริการ สะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น จัดตั้งเครือข่ายวิชาการในสาขาอุตสาหกรรมต่างๆ
มาตรการ ผลงานและแผน มาตรการภาษี ผลการดำเนินงาน ’45-’49 ลักษณะโครงการ Cost-Based - ผู้เข้าร่วมโครงการ 94 ราย - ผลประหยัด 375 ล้านบาท/ปี - ลงทุน 597 ล้านบาท(เอกชน) - ลดภาษี 112 ล้านบาท Performance-Based - อนุมัติเข้าร่วมโครงการ 76 ราย - ผลประหยัด 408 ล้านบาท/ปี - ลงทุน 582 ล้านบาท - เงินอุดหนุนเพื่อชดเชย ภาษี 44 ล้านบาท BOI - ผู้ได้รับการส่งเสริม 14 ราย (ผลิต5ราย, ESCO 6 ราย,ยกเว้นอากร3 ราย) - ผลประหยัด 99 ล้านบาท งานระยะต่อไป ปี 50 มีการดำเนินการต่อเนื่อง ผลประหยัด 330 ล้านบาท/ปี ระยะยาว กำหนดวิธีการดำเนินงานที่ชัดเจนกับกรมสรรพากร หากเป็น Cost-based จะต้องปรับปรุง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และเพิ่มสิทธิประโยชน์ (เสนอ 2 เท่า)รวมถึงลดขั้นตอนการตรวจสอบผลประหยัด Cost-based :หักค่าใช้จ่าย 1.25เท่าของเงินลงทุน Performance-based :หักคืนภาษี 30% ของผลประหยัด BOI : ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี,ยกเว้นอากรขาเข้า ปัญหาอุปสรรค ยังขาดทิศทางที่ชัดเจน (Cost/Performance) ขาดความเชื่อมั่น ขัดกับผลงานที่ต้องทำจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Incentive ไม่จูงใจ(เสนอ เพิ่มเป็น 2 เท่า) ขั้นตอนยุ่งยาก
มาตรการ ผลงานและแผน เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ลักษณะโครงการ ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป เป็นเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ โดยปล่อยผ่านสถาบันการเงินในอัตราดอกเบี้ยไม่เกิน 4 % สำหรับการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน เฟส 1: (46-48) ผู้เข้าร่วมโครงการ 80 ราย เกิดการลงทุน 3,500 ล้านบาท จากเงินหมุนเวียน 1,908 ล้านบาท ผลประหยัด 1,495 ล้านบาท/ปี เฟส 2: (49) ผู้เข้าร่วมโครงการ 75 ราย เกิดการลงทุน 2,794 ล้านบาท จากเงินหมุนเวียน 1,445 ล้านบาท ผลประหยัด 1,258 ล้านบาท/ปี ปี 50 ผลประหยัด 1,500 ล้านบาท/ปี ระยะยาว พพ. ลดบทบาทการเป็นแหล่งเงินทุน เปลี่ยนเป็นการให้บริการด้านเทคนิค อบรมเจ้าหน้าที่สถาบันการเงินให้มีความรู้ด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน ปัจจุบันในโครงการเงินหมุนเวียน ระยะที่ 2 มีผู้ขอกู้เพิ่มอีกกว่า 10 ราย กำลังรออนุมัติอย่างไรก็ตามกระทรวงพลังงานได้เตรียมจัดสรรงบประมาณไว้อีก 2,000 ล้านบาท สำหรับโครงการระยะที่ 3 ที่จะเน้นด้านพลังงานทดแทนมากขึ้น สถาบันการเงินที่เข้าร่วมโครงการ
มาตรการ ผลงานและแผน ศึกษา สาธิตและเผยแพร่เทคโนโลยีขั้นสูง ลักษณะโครงการ ผลการดำเนินงาน ’45-’49 งานระยะต่อไป เลือกกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจและมีการใช้พลังงานสูง ศึกษาพฤติกรรมการใช้พลังงานและกระบวนการผลิตรวมถึงเทคโนโลยีขั้นสูงที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานและมีศักยภาพในการขยายผล สาธิตเทคโนโลยีกับโรงงานตัวอย่าง(ให้เงินอุดหนุน 20%)และเผยแพร่ให้กลุ่มอุตสาหกรรม ได้คัดเลือกอุตสาหกรรมและศึกษาการใช้พลังงานโดยละเอียดใน 6 กลุ่มอุตสาหกรรม - อาหาร - สิ่งทอ - พลาสติก - เหล็ก - อิเล็กทรอนิกส์ - ปิโตรเคมี - อโลหะ - กระดาษ - โรงแรม - โรงพยาบาล ปี 50 สาธิตเทคโนโลยีระดับสูง เช่น เครื่องฉีดพลาสติกประสิทธิภาพสูง Hybrid heating Slag foaming technology Innovative heat storage Coal water mixer ผลประหยัด 175 ล้านบาท/ปี
มาตรการ ผลงานและแผน ความร่วมมือภาคเอกชน ลักษณะโครงการ ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป ปี 50 ขยายความร่วมมือกับสภาอุตสาหกรรมและการนิคมอุตสาหกรรม ร่วมมือกับหอการค้าไทย นิคมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมฯ เพื่อจัดตั้งศูนย์ปรึกษาฯ ร่วมมือกับกลุ่มอุตสาหกรรม เครือธุรกิจต่างๆ โดย พพ ไปให้ความรู้ เพื่อสร้างทีมงานและสร้างผู้เชี่ยวชาญด้านอนุรักษ์พลังงาน เพื่อมุ่งหวังให้ภาคเอกชนขยายผลการดำเนินการระหว่างกันเอง
Organizational Restructure Holistic Approach Mission Adjustment Organizational Restructure Value Creation Paradigm Shift Enforcer / Regulator Facilitator / Supporter www.dede.go.th