โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดอุดรธานี วันที่ 19 มี.ค. 56
50 % 50 % KPI 11 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
ระดับความสำเร็จของ การควบคุมภายใน
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ร่างแผนที่ตอบสนองยุทธศาสตร์ ศูนย์สารสนเทศ กรมชลประทาน
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รายงานการประเมินตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบออนไลน์ Organization Development Survey
ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การระดับหน่วยงาน
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
โดย ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
โครงการสำรวจความ คิดเห็นเรื่องระบบบริหาร บุคลากร 20 มีนาคม 2551.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
การสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี และธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ
คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
แผนคำของบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
สรุปผลการสำรวจแบบสอบถาม ความพึงพอใจต่อกระบวนการติดตามและ ประเมินผลของการถ่ายทอด ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับ สป. ทส. ลงสู่ ระดับสำนัก / ศูนย์ / กลุ่ม (IPA)
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจราชการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี โดย กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานจังหวัดอุดรธานี

วิทยากร นางนภาพร แก้วสี นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ นางนภาพร แก้วสี นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานจังหวัดอุดรธานี

คำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ประเด็นมิติภายใน การพัฒนาองค์การ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร น้ำหนักร้อยละ 5

การประเมินผลโดยใช้แบบสำรวจ ผ่านระบบออนไลน์ ● แบบสำรวจความพึงพอใจของบุคลากร (Human Resource Development Survey) ประกอบด้วย 10 ข้อคำถาม * HRD 5 ข้อ (1-5) * HRm 5 ข้อ (6-10)

การประเมินผลโดยใช้แบบสำรวจ ผ่านระบบออนไลน์ การประเมินผ่านระบบสำรวจออนไลน์ (Survey Online) ● ผู้ตอบต้องเป็นข้าราชการสังกัดใจ จว./ช่วยราชการจว.นั้นๆ ไม่น้อยกว่า1 ปี ● ต้องตอบครบทุกประเด็น ซึ่งประกอบด้วย ๒ ส่วน - ความเห็น - ความสำคัญ

แบบสำรวจการพัฒนาองค์การ (Organization Development Survey) ปัจจัยการสำรวจ คำถาม ระดับความเห็น ระดับความสำคัญ 1 10 น้อย มาก 1 10 น้อย มาก Human Capital Survey HRM 1. ส่วนราชการของข้าพเจ้ามีนโยบายและเป้าหมายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล1 ที่ชัดเจน และมีการสื่อสารให้บุคลากรทราบ   2. การมอบหมายงานให้แก่บุคลากรในส่วนราชการของข้าพเจ้ามีความชัดเจน และเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ 3. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าการเลื่อนระดับและการโยกย้ายบุคลากรตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักความรู้ ความสามารถ และผลงาน 4. ข้าพเจ้ามีความพึงพอใจต่อความก้าวหน้าในสายงานของตนเอง 5. ส่วนราชการของข้าพเจ้ามีแนวทางในการเสริมสร้างแรงจูงใจเพื่อรักษาบุคลากรไว้ ซึ่งทำให้อัตราการโอน/ลาออกมีแนวโน้มลดลง

แบบสำรวจการพัฒนาองค์การ (Organization Development Survey) ปัจจัยการสำรวจ คำถาม ระดับความเห็น ระดับความสำคัญ 1 10 น้อย มาก 1 10 น้อย มาก Human Capital Survey HRD 6. ผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างานมีบทบาทในการส่งเสริมและ พัฒนาให้ข้าพเจ้าปฏิบัติงานได้ดีขึ้น เช่น การสอนงาน (Coaching) เป็นต้น 7. แผนพัฒนาบุคลากรของส่วนราชการมีความสอดคล้อง กับทิศทาง และยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ 8. ข้าพเจ้าได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ ตามความ เหมาะสม โดยพิจารณาจากความต้องการ และผลการ ประเมินการปฏิบัติราชการ 9. การพัฒนาความรู้ ทักษะที่ข้าพเจ้าได้รับช่วยให้ ข้าพเจ้ามีความชำนาญ และสามารถปฏิบัติงานได้ดีขึ้น 10. บุคลากรในส่วนราชการของข้าพเจ้ามีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะที่เหมาะสมเพียงพอที่จะทำให้การปฏิบัติงาน บรรลุภารกิจขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ

การประเมินผลโดยใช้แบบสำรวจ ผ่านระบบออนไลน์ (ครั้งที่ ๑) ผลการประเมินผ่านระบบสำรวจออนไลน์ (Survey Online) จังหวัดอุดรธานี ● รอบที่ 1 ระหว่างวันที่ 17 ธันวาคม 2555 – 4 มกราคม 2556 ● จากผู้ตอบจาก 400 คน คิดเป็นร้อยละ 112 ● ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 59.25 ● ส่วนใหญ่อายุอยู่ระหว่าง 41 – 50 ปี ร้อยละ 36.50 ● ส่วนใหญ่ตำแหน่ง วิชาการระดับชำนาญการ ร้อยละ 46.00

ผลสำรวจความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลลากร ระดับคะแนน 1 -10 HRM ข้อ 1. ค่า GAP = 1.8 ข้อ 2. ค่า GAP = 1.1 ข้อ 3. ค่า GAP = 2.2 ข้อ 4. ค่า GAP = 1.4 ข้อ 5. ค่า GAP = 1.8 เฉลี่ย ค่า GAP = 1.8

ผลสำรวจความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลลากร ระดับคะแนน 1 -10 HRD ข้อ 6. ค่า GAP = 1.3 ข้อ 7. ค่า GAP = 1.3 ข้อ 8. ค่า GAP = 1.5 ข้อ 9. ค่า GAP = 1.3 ข้อ 10. ค่า GAP = 0.8 เฉลี่ย ค่า GAP = 1.2 ภาพรวม HRM + HRD ค่า GAP = 1.4

ผลสำรวจความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลลากร ระดับคะแนน 1 -10 HRD ข้อ 6. ค่า GAP = 1.3 ข้อ 7. ค่า GAP = 1.3 ข้อ 8. ค่า GAP = 1.5 ข้อ 9. ค่า GAP = 1.3 ข้อ 10. ค่า GAP = 0.8 เฉลี่ย ค่า GAP = 1.2 ภาพรวม HRM + HRD ค่า GAP = 1.4

หลักการประเมินจากการสำรวจ Organization Development Survey การทำให้ GAP น้อยที่สุด ซึ่งเป็นส่วนต่างระหว่างปัจจัย ด้านระดับความสำคัญและความเห็นของบุคลากร ภายในองค์การ (Gap)

ชื่อส่วนราชการ/จังหวัด แผนพัฒนาบุคคลากร ชื่อส่วนราชการ/จังหวัด _____________________________________ ชื่อผู้รับผิดชอบหลัก/หน่วยงาน ปัจจัยการสำรวจ คำถามการสำรวจออนไลน์ Gap โครงการ/กิจกรรมในการพัฒนา ข้อมูลปัจจัยนำเข้าในการจัดทำแผนพัฒนาฯ * ตัวชี้วัด เป้าหมาย/ผลลัพธ์ หน่วยงานที่รับผิดชอบ หมายเหตุ : * ข้อมูลปัจจัยนำเข้าในการจัดทำแผน ได้แก่ ผลการสำรวจที่มี Gap สูง ยุทธศาสตร์ พันธกิจ และ ความท้าทายองค์การ ฯลฯ ความเห็นเพิ่มเติมของผู้บริหาร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงนาม ............................................. ผู้บริหาร วันที่อนุมัติ ....................................... ( )

ภารกิจ ๑. การจัดแผนพัฒนาบุคลากร - สำรวจข้อมูลบุคลากร - แบบฟอร์มการจัดทำแผน ๒. การตอบแบบสำรวจการพัฒนาองค์การ (Organization Development Surve) รอบที่ ๒ ๓. การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อจัดทำแผนกลยุทธ์ การบริหารทรัพยากรบุคคลจังหวัดอุดรธานี ประจำปี ๒๕๕๗- ๒๕๖๐ เพื่อให้สอดคล้องกับ แผนพัฒนาจังหวัด ๔ ปี

สวัสดีค่ะ