โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี โดย กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานจังหวัดอุดรธานี
วิทยากร นางนภาพร แก้วสี นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ นางนภาพร แก้วสี นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานจังหวัดอุดรธานี
คำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ประเด็นมิติภายใน การพัฒนาองค์การ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร น้ำหนักร้อยละ 5
การประเมินผลโดยใช้แบบสำรวจ ผ่านระบบออนไลน์ ● แบบสำรวจความพึงพอใจของบุคลากร (Human Resource Development Survey) ประกอบด้วย 10 ข้อคำถาม * HRD 5 ข้อ (1-5) * HRm 5 ข้อ (6-10)
การประเมินผลโดยใช้แบบสำรวจ ผ่านระบบออนไลน์ การประเมินผ่านระบบสำรวจออนไลน์ (Survey Online) ● ผู้ตอบต้องเป็นข้าราชการสังกัดใจ จว./ช่วยราชการจว.นั้นๆ ไม่น้อยกว่า1 ปี ● ต้องตอบครบทุกประเด็น ซึ่งประกอบด้วย ๒ ส่วน - ความเห็น - ความสำคัญ
แบบสำรวจการพัฒนาองค์การ (Organization Development Survey) ปัจจัยการสำรวจ คำถาม ระดับความเห็น ระดับความสำคัญ 1 10 น้อย มาก 1 10 น้อย มาก Human Capital Survey HRM 1. ส่วนราชการของข้าพเจ้ามีนโยบายและเป้าหมายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล1 ที่ชัดเจน และมีการสื่อสารให้บุคลากรทราบ 2. การมอบหมายงานให้แก่บุคลากรในส่วนราชการของข้าพเจ้ามีความชัดเจน และเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ 3. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าการเลื่อนระดับและการโยกย้ายบุคลากรตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักความรู้ ความสามารถ และผลงาน 4. ข้าพเจ้ามีความพึงพอใจต่อความก้าวหน้าในสายงานของตนเอง 5. ส่วนราชการของข้าพเจ้ามีแนวทางในการเสริมสร้างแรงจูงใจเพื่อรักษาบุคลากรไว้ ซึ่งทำให้อัตราการโอน/ลาออกมีแนวโน้มลดลง
แบบสำรวจการพัฒนาองค์การ (Organization Development Survey) ปัจจัยการสำรวจ คำถาม ระดับความเห็น ระดับความสำคัญ 1 10 น้อย มาก 1 10 น้อย มาก Human Capital Survey HRD 6. ผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างานมีบทบาทในการส่งเสริมและ พัฒนาให้ข้าพเจ้าปฏิบัติงานได้ดีขึ้น เช่น การสอนงาน (Coaching) เป็นต้น 7. แผนพัฒนาบุคลากรของส่วนราชการมีความสอดคล้อง กับทิศทาง และยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ 8. ข้าพเจ้าได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ ตามความ เหมาะสม โดยพิจารณาจากความต้องการ และผลการ ประเมินการปฏิบัติราชการ 9. การพัฒนาความรู้ ทักษะที่ข้าพเจ้าได้รับช่วยให้ ข้าพเจ้ามีความชำนาญ และสามารถปฏิบัติงานได้ดีขึ้น 10. บุคลากรในส่วนราชการของข้าพเจ้ามีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะที่เหมาะสมเพียงพอที่จะทำให้การปฏิบัติงาน บรรลุภารกิจขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ
การประเมินผลโดยใช้แบบสำรวจ ผ่านระบบออนไลน์ (ครั้งที่ ๑) ผลการประเมินผ่านระบบสำรวจออนไลน์ (Survey Online) จังหวัดอุดรธานี ● รอบที่ 1 ระหว่างวันที่ 17 ธันวาคม 2555 – 4 มกราคม 2556 ● จากผู้ตอบจาก 400 คน คิดเป็นร้อยละ 112 ● ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 59.25 ● ส่วนใหญ่อายุอยู่ระหว่าง 41 – 50 ปี ร้อยละ 36.50 ● ส่วนใหญ่ตำแหน่ง วิชาการระดับชำนาญการ ร้อยละ 46.00
ผลสำรวจความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลลากร ระดับคะแนน 1 -10 HRM ข้อ 1. ค่า GAP = 1.8 ข้อ 2. ค่า GAP = 1.1 ข้อ 3. ค่า GAP = 2.2 ข้อ 4. ค่า GAP = 1.4 ข้อ 5. ค่า GAP = 1.8 เฉลี่ย ค่า GAP = 1.8
ผลสำรวจความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลลากร ระดับคะแนน 1 -10 HRD ข้อ 6. ค่า GAP = 1.3 ข้อ 7. ค่า GAP = 1.3 ข้อ 8. ค่า GAP = 1.5 ข้อ 9. ค่า GAP = 1.3 ข้อ 10. ค่า GAP = 0.8 เฉลี่ย ค่า GAP = 1.2 ภาพรวม HRM + HRD ค่า GAP = 1.4
ผลสำรวจความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลลากร ระดับคะแนน 1 -10 HRD ข้อ 6. ค่า GAP = 1.3 ข้อ 7. ค่า GAP = 1.3 ข้อ 8. ค่า GAP = 1.5 ข้อ 9. ค่า GAP = 1.3 ข้อ 10. ค่า GAP = 0.8 เฉลี่ย ค่า GAP = 1.2 ภาพรวม HRM + HRD ค่า GAP = 1.4
หลักการประเมินจากการสำรวจ Organization Development Survey การทำให้ GAP น้อยที่สุด ซึ่งเป็นส่วนต่างระหว่างปัจจัย ด้านระดับความสำคัญและความเห็นของบุคลากร ภายในองค์การ (Gap)
ชื่อส่วนราชการ/จังหวัด แผนพัฒนาบุคคลากร ชื่อส่วนราชการ/จังหวัด _____________________________________ ชื่อผู้รับผิดชอบหลัก/หน่วยงาน ปัจจัยการสำรวจ คำถามการสำรวจออนไลน์ Gap โครงการ/กิจกรรมในการพัฒนา ข้อมูลปัจจัยนำเข้าในการจัดทำแผนพัฒนาฯ * ตัวชี้วัด เป้าหมาย/ผลลัพธ์ หน่วยงานที่รับผิดชอบ หมายเหตุ : * ข้อมูลปัจจัยนำเข้าในการจัดทำแผน ได้แก่ ผลการสำรวจที่มี Gap สูง ยุทธศาสตร์ พันธกิจ และ ความท้าทายองค์การ ฯลฯ ความเห็นเพิ่มเติมของผู้บริหาร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงนาม ............................................. ผู้บริหาร วันที่อนุมัติ ....................................... ( )
ภารกิจ ๑. การจัดแผนพัฒนาบุคลากร - สำรวจข้อมูลบุคลากร - แบบฟอร์มการจัดทำแผน ๒. การตอบแบบสำรวจการพัฒนาองค์การ (Organization Development Surve) รอบที่ ๒ ๓. การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อจัดทำแผนกลยุทธ์ การบริหารทรัพยากรบุคคลจังหวัดอุดรธานี ประจำปี ๒๕๕๗- ๒๕๖๐ เพื่อให้สอดคล้องกับ แผนพัฒนาจังหวัด ๔ ปี
สวัสดีค่ะ