ข้อมูลสุขภาพ 21,43 แฟ้ม: การจัดการเพื่อใช้ประโยชน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

มาตรฐานการบันทึกข้อมูลในสถานพยาบาล การให้รหัส และการส่งข้อมูล 43 แฟ้ม
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
Service Plan สาขา NCD.
ความก้าวหน้าของการพัฒนา Database
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คุณภาพคือคำตอบสุดท้าย
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
Health Promotion & Prevention
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ดร.นพ.พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระยองและคณะติดตามประเมินผล
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การจัดการค่า กลาง. ค่ากลางคือ อะไร ? %100% 65 การยกระดับคุณภาพของแผนงาน / โครงการ * โดยใช้ค่ากลาง ความถี่ สูงสุด % งา น บริเวณค่า.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
อนาคตระบบบริการสุขภาพ
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
สกลนครโมเดล.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูลสุขภาพ 21,43 แฟ้ม: การจัดการเพื่อใช้ประโยชน์ ทิศทางการดำเนินงานเทคโนโลยี่สารสนเทศ กับการจัดการแฟ้มข้อมูลสุขภาพ   ผศ.(พิเศษ)นพ.พลวรรธน์ วิทูรกลชิต ผอ.​ศุนย์เทคโนโลยี่สารสนเทศ การติดตามประเมินผลการป้องกันควบคุมโรค และ ข้อมูลสุขภาพและการแพทย์ 43 แฟ้ม ดร.นพ. ศักดิ์ชัย ไชยมหาพฤกษ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก กระบวนการพัฒนาข้อมูลสุขภาพ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในเขตพื้นที่เครือข่ายบริการ ที่ 2 อุษารัตน์ ติดเทียน สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก ถอดรหัสข้อมูลสุขภาพสู่การปฏิบัติและนำไปใช้ประโยชน์ - - นางสมศรี คำภีระ หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก นายสิทธิพงศ์ พรมหาญ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก  สาธิตกรณีตัวอย่างการนำสารสนเทศมาใช้ประโยชน์เพื่อการติดตามประเมินผล ความครอบคลุมวัคซีน การคัดกรองโรคไม่ติดต่อ 15.40 – 16.30 50 min นายดุสิต ทัพผดุง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์

ดร.นพ. ศักดิ์ชัย ไชยมหาพฤกษ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก การติดตามประเมินผลการป้องกันควบคุมโรคด้วยข้อมูลสุขภาพและการแพทย์ 43 แฟ้ม   ดร.นพ. ศักดิ์ชัย ไชยมหาพฤกษ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก

หัวข้อการนำเสนอ ตัวชี้วัด การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค โครงสร้างฐานข้อมููล 43 แฟ้ม Introduction to SQL หลักการพื้นฐาน คำสั่ง ข้อเสนอแนะ

ตัวชี้วัด การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2556

ตัวชี้วัด NCD และ ข้อมูลที่ต้องการ

ร้อยละความครอบคลุมของประชาชน จำแนกตามกลุ่มอายุ ตัวชี้วัด ร้อยละความครอบคลุมของประชาชน จำแนกตามกลุ่มอายุ - อายุ 15-34 ปี - อายุ 35-59 ปี และ - อายุ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิต สูงไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

ข้อมูลที่ต้องการ 1. จำนวนประชาชนไทยจำแนกกลุ่มอายุ ข้อมูลที่ต้องการ 1. จำนวนประชาชนไทยจำแนกกลุ่มอายุ ที่ไม่รู้ว่าเป็นโรคเบาหวานทั้งหมดในพื้นที่ 2. จำนวนผู้ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูง ตามมาตรฐาน 2.1 จำนวนกลุ่ม Pre-DM, Pre-HT แยกตามกลุ่มอายุ 2.2 จำนวนผู้ป่วย DM, HT รายใหม่ แยกตามกลุ่มอายุ

ตัวชี้วัด ผู้ป่วยเบาหวานที่คุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ข้อมูลที่ต้องการ - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน และได้รับ การติดตามในคลินิกเบาหวาน - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจ HbA1C - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่า HbA1C น้อยกว่า 7 - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับความดันโลหิต 3 ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน <130/80 มม.ปรอท)

ตัวชี้วัด EPI และ ข้อมูลที่ต้องการ

ร้อยละความครอบคลุมของเด็กจำแนก ตามกลุ่มอายุได้รับวัคซีนแต่ละประเภท ตัวชี้วัด ร้อยละความครอบคลุมของเด็กจำแนก ตามกลุ่มอายุได้รับวัคซีนแต่ละประเภท ตามเกณฑ์ที่กำหนด ข้อมูลที่ต้องการ - ประชากรเด็กเป้าหมาย จำแนกตามกลุ่มอายุ สอดคล้องกับการประเมินผลงานการได้รับวัคซีนแต่ละประเภท - จำนวนเด็กในพื้นที่ จำแนกตามกลุ่มที่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ (ตามช่วงเวลา / งวดรายงาน) ที่ใช้ประเมิน

โครงสร้างฐานข้อมููล 43 แฟ้ม

หลักการพื้นฐาน คำสั่ง SQL

MySQL Relational database โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล แจกฟรี http://dev.mysql.com/downloads/

Select คำสั่งดึงและวิเคราะห์ข้อมูลจากตาราง รูปแบบ Select ชื่อฟิลด์1 ชื่อฟิลด์2 ชื่อฟิลด์3 from ชื่อตาราง [where เงื่่อนไข]

ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปีที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด A = จำนวนเด็กอายุครบ 1 ปีที่อยู่อาศัยในพื้นที่ในงวดรายงานนั้นที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด B = จานวนเด็กอายุครบ 1 ปีที่อยู่อาศัยในพื้นที่ในงวดรายงานนั้น สูตรการคำนวณ = (A/B) x 100

ฐานข้อมูล 21,43 แฟ้ม แฟ้มepi : epi.date_serv epi.vcctype b. แฟ้ม person : person.pcucode , pid, birth , sex , nation , dischar , labor , typearea

โครงสร้างแฟ้ม Person มี Field ดังนี้ pcucode pid birth sex nation dischar labor typearea

แฟ้ม Person

ชนิดของข้อมูลใน ไฟล์ EPI ของ 43 แฟ้ม

Relational database PID hospcode Person.PID Person.hospcode EPI.PID. Epi.hospcode

คำสั่ง SQL 43 แฟ้ม Vaccine MMR (061) SELECT person.HOSPCODE, chospital.hosname, count(DISTINCT epi.HOSPCODE,epi.PID) as a, count(distinct person.HOSPCODE,person.PID) as b FROM person LEFT JOIN epi ON epi.HOSPCODE = person.HOSPCODE AND epi.PID = person.PID AND epi.VACCINETYPE = '061' INNER JOIN chospital ON chospital.hoscode = person.HOSPCODE WHERE person.sex in ('1','2') AND person.TYPEAREA IN ('1', '3') AND person.NATION = '099' AND person.DISCHARGE = '9' AND person.BIRTH BETWEEN '20111001' AND '20120930' GROUP BY person.HOSPCODE  

คำสั่ง SQL 43 แฟ้ม Vaccine MMR (061) SELECT chospital.distcode,campur.ampurname,sum(a1) as A,sum(b1) as B,FORMAT(IFNULL(sum(a1)/sum(b1) * 100,0),2) AS PERCENT FROM (SELECT person.HOSPCODE, count(DISTINCT epi.HOSPCODE,epi.PID) AS a1, count(distinct person.HOSPCODE,person.PID) AS b1 person LEFT JOIN epi ON epi.HOSPCODE = person.HOSPCODE AND epi.PID = person.PID AND epi.VACCINETYPE = '061' WHERE person.sex in ('1','2') AND person.TYPEAREA IN ('1', '3') AND person.NATION = '099' AND person.DISCHARGE = '9' AND person.BIRTH BETWEEN @START_DATE AND @END_DATE GROUP BY person.HOSPCODE) as dev1 INNER JOIN chospital ON chospital.hoscode = dev1.HOSPCODE INNER JOIN campur ON campur.changwatcode = chospital.provcode AND campur.ampurcode = chospital.distcode chospital.provcode = @PROVINCE_CODE chospital.distcode

คำสั่ง SQL 43 แฟ้ม Vaccine MMR (061) SELECT person.HOSPCODE, chospital.hosname, count(DISTINCT epi.HOSPCODE,epi.PID) as a, count(distinct person.HOSPCODE,person.PID) as b FROM person LEFT JOIN epi ON epi.HOSPCODE = person.HOSPCODE AND epi.PID = person.PID AND epi.VACCINETYPE = '061' INNER JOIN chospital ON chospital.hoscode = person.HOSPCODE WHERE person.sex in ('1','2') AND person.TYPEAREA IN ('1', '3') AND person.NATION = '099' AND person.DISCHARGE = '9' AND person.BIRTH BETWEEN '20111001' AND '20120930' GROUP BY person.HOSPCODE  

Conclusion

Public health informatics

IT system data structure Multi-disciplinary IT system data structure SQL language M&E indicator

Public Heath Informatics Computer science Information science Behavioral science Organization science Public health Management science

กลยุทธ์ นโยบายและตัดสินใจ 4. สารสนเทศ สำหรับวางแผน กลยุทธ์ นโยบายและตัดสินใจ 3. สารสนเทศสำหรับวางแผนกลยุทธ์วิธีและการตัดสินใจ 2. สารสนเทศสำหรับวางแผนการปฏิบัติงาน ตัดสินใจ และควบคุม 1. สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลรายการ

คุณสมบัติของสารสนเทศ ที่ดีควรมีคุณสมบัติดังน้ี มีความถูกต้องเชื่อถือได้(Accuracy) สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable) ความสมบูรณ์ (Completeness) ทันต่อการใชงานหรือทันเวลา(Timeliness) ความกระทัดรัด(Conciseness) ตรงประเด็นหรือตรงตามความต้องการ (Relevance)

Leading practice and Best practice