การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
การอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการ
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
Formulation of herbicides Surfactants
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
สัมมนาทางชีวิทยา เสนอ อ. ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น. ส
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การปลูกพืชกลับหัว.
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ขั้นตอนการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า ในข้าวสุก
การควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
ข้อควรระวัง ! ในการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ข้าวแต๋น.
การทำแผลชนิดแห้ง( Dry dressing )
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
การเจริญเติบโตของพืช
การผลิตข้าวฮาง บ้านนาแก หมู่ที่ 7 ตำบลนาแก อำเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลำภู การแช่ข้าวเปลือก นำเมล็ดข้าวเปลือกมาล้างทำความสะอาดเพื่อเอาสิ่งเจือปนออก แช่เมล็ดข้าวเปลือกในน้ำนาน.
Welcome to .. Predator’s Section
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
* นมพาสเจอร์ไรส์ : นมที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อน เพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคให้อยู่ในระดับที่ ปลอดภัย ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ โดยใช้ความร้อนที่
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
วุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์
การเพาะเห็ดนางฟ้า วัสดุอุปกรณ์ในการเพาะเห็ดนางฟ้า สูตรที่1
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช

การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช ทำไมต้องใช้จุลินทรีย์ ?

สภาวะการณ์ในปัจจุบัน

ภาพจำลอง

ข้อเสียของการใช้สารเคมีทางการเกษตร ราคาสูง อันตรายต่อสุขภาพ - ปี 2540 สถิติการเสียชีวิตของคนไทย อุบัติเหตุ โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคตับ ปัจจุบันคนไทยเสียชีวิตจาก โรคมะเร็ง มากที่สุด มลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม

การควบคุมโรคและศัตรูพืชโดยชีววิธี เชื้อราบิวเวอเรีย เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า เชื้อแบคทีเรีย บาซิลัส ทูริงเยนซิส (บีที) เชื้อแบคทีเรีย บาซิรัส ซับทีลิส (บี เอส)

เชื้อราบิวเวอเรีย Beauveria bassiana

บิวเวอเรีย คือ อะไร? บิวเวอเรีย เป็นจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติเป็นเชื้อราปฏิปักษ์ สามารถ ทำลายแมลง ได้หลายชนิด

การทำลายศัตรูพืช หนอนผีเสื้อศัตรูพืชต่าง ๆ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยไฟ ไรแดง หนอนห่อใบข้าว เพลี้ยจั๊กจั่นต่างๆ เพลี้ยอ่อน หนอนผีเสื้อศัตรูพืชต่าง ๆ ด้วงงวง

เพลี้ยแป้ง

ลักษณะการทำลาย สัมผัสตัวแมลง งอกเข้าสู่ตัวแมลง แมลงอ่อนแอ ป่วย ตาย

เมื่อแมลงตายเส้นใยจะพัฒนาแล้ว แทงออกมานอกตัวแมลง สปอร์แพร่กระจายไปตามลม ฝน และคงอยู่ในธรรมชาติต่อไป

อาการของแมลงที่ติดเชื้อ เบื่ออาหาร กินอาหารน้อยลง อ่อนแอ และไม่เคลื่อนไหว ผนังลำตัวตรงที่เชื้อทำลายปรากฏจุดสีดำ มีเส้นใยและผงสีขาวปกคลุมลำตัว

ขั้นตอนและวิธีการ ผลิตเชื้อราบิวเวอเรีย ขั้นตอนและวิธีการ ผลิตเชื้อราบิวเวอเรีย

เมล็ดธัญพืชสำหรับขยายเชื้อ ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ข้าวเปลือก

วัสดุ-อุปกรณ์ เมล็ดข้าวโพด ถุงพลาสติก (ถุงร้อน ขนาดบรรจุครึ่งกิโลกรัม) คอขวดพลาสติก

วัสดุ-อุปกรณ์(ต่อ) ยางรัด หัวเชื้อราฯ สำลี กระดาษ

วัสดุ-อุปกรณ์ (ต่อ) แอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อและอุปกรณ์ฉีดพ่น ตะเกียงแอลกอฮอล์ เข็มเขี่ยเชื้อ

วัสดุ-อุปกรณ์ (ต่อ) ตู้สำหรับเขี่ยเชื้อ หม้อนึ่งลูกทุ่ง เตาแก็ส

ขั้นตอนการผลิต

1. แช่เมล็ดข้าวโพด 12 ชั่วโมงหรือ 1 คืน แล้วนำขึ้นผึ่งพอหมาดๆ 1. แช่เมล็ดข้าวโพด 12 ชั่วโมงหรือ 1 คืน แล้วนำขึ้นผึ่งพอหมาดๆ

2. บรรจุถุง ถุงละครึ่ง กิโลกรัม ปิดปากถุงด้วยคอขวดพลาสติก จุกสำลีและปิดด้วยกระดาษ

3. นำมาวางเรียงในถังนึ่ง (บรรจุประมาณ 120-150 ถุง/ถัง)

6. ทิ้งให้เย็น แล้วนำมาเขี่ยเชื้อ 5. นึ่งด้วยหม้อนึ่งลูกทุ่งนาน 3 ชั่วโมงนับจากน้ำเดือด 6. ทิ้งให้เย็น แล้วนำมาเขี่ยเชื้อ

1. พ่นทำความสะอาดตู้เขี่ยเชื้อ อุปกรณ์และมือด้วยแอลกอฮอล์ 70% ทุกครั้ง ขั้นตอนการเขี่ยเชื้อ 1. พ่นทำความสะอาดตู้เขี่ยเชื้อ อุปกรณ์และมือด้วยแอลกอฮอล์ 70% ทุกครั้ง 2.นำตะเกียงแอลกอฮอล์ เข็มเขี่ยเชื้อ ถุงเมล็ดข้าวโพดและหัวเชื้อราบนเมล็ดข้าวฟ่าง เข้าตู้เขี่ยเชื้อ

หัวเชื้อราฯบนเมล็ดข้าวฟ่าง

3.ลนความร้อนที่เข็มเขี่ยเชื้อและปากขวดหัวเชื้อ

4.ลนความร้อนที่ปากถุงเมล็ดข้าวโพดทุกครั้ง

5. เขี่ยเชื้อจากเมล็ดข้าวฟ่างใส่ถุงข้าวโพด ประมาณ 8-10 เมล็ด

6. จุกสำลีเข้าที่และปิดปากถุงด้วยกระดาษ

5. นำมาบ่มในห้อง ใต้ถุนบ้านหรือที่อากาศถ่ายเท แสงสว่างพอประมาณ ไม่ถูกแสงแดด

15-20 วัน เชื้อจะเจริญจนเต็มถุง 15-20 วัน เชื้อจะเจริญจนเต็มถุง

วิธีการนำไปใช้ เชื้อสด 1 ก.ก.(2 ถุง) : น้ำ 20 ลิตร เชื้อสด 1 ก.ก.(2 ถุง) : น้ำ 20 ลิตร น้ำ 5 ลิตร กรองกับเชื้อสด คนให้สปอร์หลุด นำไปผสมน้ำอีก 15 ลิตร

ผสมเชื้อรากับน้ำสะอาด 1-2 ก.ก./20 ลิตร เติมสารจับใบ

ปัจจัยของความรุนแรงในการทำลายแมลง ปริมาณสปอร์ที่ถูกตัวแมลง สภาพแวดล้อมขณะที่ใช้ ปริมาณของเชื้อที่เจริญออกมาภายนอก ถ้าอุณหภูมิ 37 oC ขึ้นไปและความชื้นสัมพัทธ์น้อยกว่า 15 % เชื้อจะไม่เจริญ

การใช้เชื้อราฯอย่างมีประสิทธิภาพ พ่นเวลาเย็น แดดอ่อนหรือช่วงที่มีความชื้น พ่นให้ถูกตัวแมลง พ่นเวลาแมลงออกหากิน ให้น้ำแปลงพืชก่อน 1 ช.ม. สำรวจ/พ่นซ้ำ 5-7 วัน

การเก็บรักษา เก็บในร่ม อุณหภูมิปกติ นาน 20-30 วัน เก็บในอุณหภูมิปกติ 7-10 องศาเซลเซียส นาน 3 เดือน เก็บนาน เส้นใยจะอัดกันแน่น ไม่เก็บในที่ชื้นแฉะหรือน้ำขัง

ข้อควรระวัง ! เชื้อราบิวเวอเรีย ทำให้เกิดโรคกับแมลงได้อย่างกว้างขวาง รวมทั้งแมลงศัตรูธรรมชาติด้วย กรณีต้องใช้ศัตรูธรรมชาติ ควรทิ้งระยะห่างกัน อย่างน้อย 7-10 วัน

สวัสดี