การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช ทำไมต้องใช้จุลินทรีย์ ?
สภาวะการณ์ในปัจจุบัน
ภาพจำลอง
ข้อเสียของการใช้สารเคมีทางการเกษตร ราคาสูง อันตรายต่อสุขภาพ - ปี 2540 สถิติการเสียชีวิตของคนไทย อุบัติเหตุ โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคตับ ปัจจุบันคนไทยเสียชีวิตจาก โรคมะเร็ง มากที่สุด มลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม
การควบคุมโรคและศัตรูพืชโดยชีววิธี เชื้อราบิวเวอเรีย เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า เชื้อแบคทีเรีย บาซิลัส ทูริงเยนซิส (บีที) เชื้อแบคทีเรีย บาซิรัส ซับทีลิส (บี เอส)
เชื้อราบิวเวอเรีย Beauveria bassiana
บิวเวอเรีย คือ อะไร? บิวเวอเรีย เป็นจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติเป็นเชื้อราปฏิปักษ์ สามารถ ทำลายแมลง ได้หลายชนิด
การทำลายศัตรูพืช หนอนผีเสื้อศัตรูพืชต่าง ๆ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยไฟ ไรแดง หนอนห่อใบข้าว เพลี้ยจั๊กจั่นต่างๆ เพลี้ยอ่อน หนอนผีเสื้อศัตรูพืชต่าง ๆ ด้วงงวง
เพลี้ยแป้ง
ลักษณะการทำลาย สัมผัสตัวแมลง งอกเข้าสู่ตัวแมลง แมลงอ่อนแอ ป่วย ตาย
เมื่อแมลงตายเส้นใยจะพัฒนาแล้ว แทงออกมานอกตัวแมลง สปอร์แพร่กระจายไปตามลม ฝน และคงอยู่ในธรรมชาติต่อไป
อาการของแมลงที่ติดเชื้อ เบื่ออาหาร กินอาหารน้อยลง อ่อนแอ และไม่เคลื่อนไหว ผนังลำตัวตรงที่เชื้อทำลายปรากฏจุดสีดำ มีเส้นใยและผงสีขาวปกคลุมลำตัว
ขั้นตอนและวิธีการ ผลิตเชื้อราบิวเวอเรีย ขั้นตอนและวิธีการ ผลิตเชื้อราบิวเวอเรีย
เมล็ดธัญพืชสำหรับขยายเชื้อ ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ข้าวเปลือก
วัสดุ-อุปกรณ์ เมล็ดข้าวโพด ถุงพลาสติก (ถุงร้อน ขนาดบรรจุครึ่งกิโลกรัม) คอขวดพลาสติก
วัสดุ-อุปกรณ์(ต่อ) ยางรัด หัวเชื้อราฯ สำลี กระดาษ
วัสดุ-อุปกรณ์ (ต่อ) แอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อและอุปกรณ์ฉีดพ่น ตะเกียงแอลกอฮอล์ เข็มเขี่ยเชื้อ
วัสดุ-อุปกรณ์ (ต่อ) ตู้สำหรับเขี่ยเชื้อ หม้อนึ่งลูกทุ่ง เตาแก็ส
ขั้นตอนการผลิต
1. แช่เมล็ดข้าวโพด 12 ชั่วโมงหรือ 1 คืน แล้วนำขึ้นผึ่งพอหมาดๆ 1. แช่เมล็ดข้าวโพด 12 ชั่วโมงหรือ 1 คืน แล้วนำขึ้นผึ่งพอหมาดๆ
2. บรรจุถุง ถุงละครึ่ง กิโลกรัม ปิดปากถุงด้วยคอขวดพลาสติก จุกสำลีและปิดด้วยกระดาษ
3. นำมาวางเรียงในถังนึ่ง (บรรจุประมาณ 120-150 ถุง/ถัง)
6. ทิ้งให้เย็น แล้วนำมาเขี่ยเชื้อ 5. นึ่งด้วยหม้อนึ่งลูกทุ่งนาน 3 ชั่วโมงนับจากน้ำเดือด 6. ทิ้งให้เย็น แล้วนำมาเขี่ยเชื้อ
1. พ่นทำความสะอาดตู้เขี่ยเชื้อ อุปกรณ์และมือด้วยแอลกอฮอล์ 70% ทุกครั้ง ขั้นตอนการเขี่ยเชื้อ 1. พ่นทำความสะอาดตู้เขี่ยเชื้อ อุปกรณ์และมือด้วยแอลกอฮอล์ 70% ทุกครั้ง 2.นำตะเกียงแอลกอฮอล์ เข็มเขี่ยเชื้อ ถุงเมล็ดข้าวโพดและหัวเชื้อราบนเมล็ดข้าวฟ่าง เข้าตู้เขี่ยเชื้อ
หัวเชื้อราฯบนเมล็ดข้าวฟ่าง
3.ลนความร้อนที่เข็มเขี่ยเชื้อและปากขวดหัวเชื้อ
4.ลนความร้อนที่ปากถุงเมล็ดข้าวโพดทุกครั้ง
5. เขี่ยเชื้อจากเมล็ดข้าวฟ่างใส่ถุงข้าวโพด ประมาณ 8-10 เมล็ด
6. จุกสำลีเข้าที่และปิดปากถุงด้วยกระดาษ
5. นำมาบ่มในห้อง ใต้ถุนบ้านหรือที่อากาศถ่ายเท แสงสว่างพอประมาณ ไม่ถูกแสงแดด
15-20 วัน เชื้อจะเจริญจนเต็มถุง 15-20 วัน เชื้อจะเจริญจนเต็มถุง
วิธีการนำไปใช้ เชื้อสด 1 ก.ก.(2 ถุง) : น้ำ 20 ลิตร เชื้อสด 1 ก.ก.(2 ถุง) : น้ำ 20 ลิตร น้ำ 5 ลิตร กรองกับเชื้อสด คนให้สปอร์หลุด นำไปผสมน้ำอีก 15 ลิตร
ผสมเชื้อรากับน้ำสะอาด 1-2 ก.ก./20 ลิตร เติมสารจับใบ
ปัจจัยของความรุนแรงในการทำลายแมลง ปริมาณสปอร์ที่ถูกตัวแมลง สภาพแวดล้อมขณะที่ใช้ ปริมาณของเชื้อที่เจริญออกมาภายนอก ถ้าอุณหภูมิ 37 oC ขึ้นไปและความชื้นสัมพัทธ์น้อยกว่า 15 % เชื้อจะไม่เจริญ
การใช้เชื้อราฯอย่างมีประสิทธิภาพ พ่นเวลาเย็น แดดอ่อนหรือช่วงที่มีความชื้น พ่นให้ถูกตัวแมลง พ่นเวลาแมลงออกหากิน ให้น้ำแปลงพืชก่อน 1 ช.ม. สำรวจ/พ่นซ้ำ 5-7 วัน
การเก็บรักษา เก็บในร่ม อุณหภูมิปกติ นาน 20-30 วัน เก็บในอุณหภูมิปกติ 7-10 องศาเซลเซียส นาน 3 เดือน เก็บนาน เส้นใยจะอัดกันแน่น ไม่เก็บในที่ชื้นแฉะหรือน้ำขัง
ข้อควรระวัง ! เชื้อราบิวเวอเรีย ทำให้เกิดโรคกับแมลงได้อย่างกว้างขวาง รวมทั้งแมลงศัตรูธรรมชาติด้วย กรณีต้องใช้ศัตรูธรรมชาติ ควรทิ้งระยะห่างกัน อย่างน้อย 7-10 วัน
สวัสดี