สิทธิประโยชน์ทางภาษีมูลค่าเพิ่ม Value Added Tax Benefit สุเทพ พงษ์พิทักษ์ ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการสอบบัญชีภาษีอากร
ช่องโหว่ของกฎหมายภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวลรัษฎากร 1. การเปลี่ยนนโยบายส่งเสริมการขาย โดยการแจกสินค้าหรือของขวัญ ของชำร่วยให้แก่ลูกค้า มาเป็นการแถมพร้อมกับการขายหรือการให้บริการ หรือให้ส่วนลดการค้า 2. การให้รางวัลแก่ลูกจ้างหรือพนักงาน หรือรางวัลในการประกวด การแข่งขัน การชิงโชคเป็นเงินสด แทนการให้รางวัลเป็นสินค้าหรือเป็นสิ่งของ 3. การบริจาคเงินสด แทนการบริจาคเป็นสิ่งของ 4. การให้ลูกค้าไปออกของ ณ ด่านศุลกากรและชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับสินค้าที่นำเข้ามาเพื่อขายให้แก่ลูกค้า 5. การให้พนักงานใช้เครื่องแบบในการปฏิบัติงาน โดยยังถือเป็นกรรมสิทธิ์ของกิจการ
ช่องโหว่ของกฎหมายภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวลรัษฎากร 6. การเลื่อนจุดความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 7. การใช้สิทธิในภาษีซื้อในอาคารที่ก่อสร้างเพื่อใช้ในกิจการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มให้ครบสามปี 8. การนำภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปฉบับที่เป็นสำเนา หรือมีรายแก้ไข ไปถือเป็นรายจ่าย 9. การประกอบกิจการให้บริการรับจ้างทำของ โดยไม่แยกเป็นกิจการให้บริการ และกิจการขายสินค้าต่างหากจากกัน เพื่อหลีกเลี่ยงการจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ 10. การประกอบกิจการให้เช่ารถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน เพื่อให้สามารถใช้ภาษีซื้อสำหรับรถยนต์ดังกล่าว
ช่องโหว่ของกฎหมายภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวลรัษฎากร 11. การยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มถูกต้องครบถ้วน และภายในกำหนดเวลาที่กฎหมายกำหนด 12. การประกอบกิจการในเขตปลอดอากร 13. การใช้สิทธิเกี่ยวกับการเฉลี่ยภาษีซื้อ 14. การใช้สิทธิเสียภาษีมูลค่าเพิ่มอัตรา 0%
Loophole - เลื่อน Tax Point A. Co., ltd. B. Co., ltd. Move Stock = Deemed Sale มาตรา 77/1(8) Loophole - เลื่อน Tax Point 1. A. เช่าโกดังจาก B. = A. ต้องจดแจ้งสาขา A. ต้องจัดทำ Stock Book ของสาขา 2. ฝากสินค้า = A. ไม่ต้องจดแจ้งเพิ่มสาขา
กิจกรรมที่ต้องเสีย VAT ตารางแสดงความสัมพันธ์ของกิจกรรมที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม และผู้รับภาระภาษีมูลค่าเพิ่ม กิจกรรมที่ต้องเสีย VAT ผู้มีหน้าทีเสียVAT ผู้รับภาระVAT ประเภทภาษี การขายสินค้าในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ ผู้ประกอบการ ผู้บริโภค ทางอ้อม การให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ การนำเข้าสินค้าหรือบริการโดยผู้ประกอบการ การนำเข้าโดยผู้บริโภค ทางตรง
มูลค่าเพิ่ม (Value Added: VA) ค่าจ้าง ค่าเช่า ดอกเบี้ย รายจ่ายในการดำเนินงาน ผลกำไร
กิจกรรมที่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม มาตรา 77/2 การกระทำดังกิจการดังต่อไปนี้ ในราชอาณาจักร (มาตรา 2) ให้อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามบทบัญญัติในหมวดนี้ (1) การขายสินค้าหรือการให้บริการโดยผู้ประกอบการ (2) การนำเข้าสินค้าโดยผู้นำเข้า การให้บริการในราชอาณาจักรให้หมายถึง บริการที่ทำในราชอาณาจักร โดยไม่คำนึงว่าการใช้บริการนั้น จะอยู่ในต่าง ประเทศ หรือในราชอาณาจักร การให้บริการที่ทำในต่างประเทศ และได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร ให้ถือว่า การให้บริการนั้นเป็นการให้บริการในราชอาณาจักร
การขายสินค้าในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ ในราชอาณาจักรโดยผู้ประกอบการ “ขาย” หมายความว่า จำหน่าย จ่าย โอนสินค้า โดยได้รับประโยชน์หรือค่าตอบแทน ได้แก่ การขายสินค้าโดยทั่วไป การแลกเปลี่ยน (Barter) การ Trade-in และการจำหน่าย จ่าย โอนสินค้าโดยไม่ได้รับประโยชน์หรือค่าตอบแทน ได้แก่ การแจก การแถม การให้ การบริจาคสินค้า นอกจากนี้ “ขาย” ยังหมายความรวมถึงกรณีดังต่อไปนี้ (1) สัญญาให้เช่าซื้อสินค้า (Hire Purchase) สัญญาซื้อขายผ่อนชำระที่กรรมสิทธิ์ในสินค้ายังไม่โอนไปยังผู้ซื้อ เมื่อได้ส่งมอบสินค้าให้ผู้ซื้อแล้ว หรือสัญญาจะขายสินค้าที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด โดยอนุมัติรัฐมนตรีว่า การกระทรวงการคลัง (2) ส่งมอบสินค้าให้ตัวแทนเพื่อขาย (การฝากขาย) Deemed Sale
การขายสินค้าในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ ในราชอาณาจักรโดยผู้ประกอบการ (3) ส่งสินค้าออกนอกราชอาณาจักร (การส่งออก) “ส่งออก” หมายความว่า ส่งสินค้าออกไปนอกราชอาณาจักรเพื่อส่งไปต่างประเทศและให้หมายความรวมถึง (ดู ป.97/2543) (ก) การนำสินค้าในราชอาณาจักร เข้าไปในเขตปลอดอากร เฉพาะสินค้าที่ต้องเสียอากรขาออกหรือที่ได้รับยกเว้นอากรขาออกตามตามแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร (ข) การขายสินค้าของคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทร้านค้าปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรที่ขายให้แก่ผู้ที่เดินทางออกไปนอกราชอาณาจักรตามแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร (มาตรา 77/1(14) และประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 30)) FZ Duty Free
การขายสินค้าในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ ในราชอาณาจักรโดยผู้ประกอบการ (4) นำสินค้าไปใช้ไม่ว่าประการใดๆ เว้นแต่การนำสินค้าไปใช้ในการผลิตสินค้า การให้บริการ การบริหารงานของกิจการ หรือเพื่อประโยชน์ของทรัพย์สินที่มีไว้ในการประกอบกิจการของตนเอง ทั้งนี้ ต้องเป็นการใช้ในกิจการที่อยู่ในบังคับที่ต้องเสียภาษี มูลค่าเพิ่ม อนึ่ง สินค้าดังกล่าวต้องมิใช่รถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต และสินค้าหรือบริการที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ดังกล่าว แต่ไม่รวมถึงการนำรถยนต์ประเภทดังกล่าวไปไว้ในสถานแสดงรถยนต์เพื่อขาย (ประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 1))
การขายสินค้าในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ ในราชอาณาจักรโดยผู้ประกอบการ (5) มีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบตามมาตรา 87(3) หรือมาตรา 87 วรรคสอง (ดูมาตรา 78/3) (6) มีสินค้าคงเหลือ และหรือทรัพย์สินที่ผู้ประกอบการมีไว้ในการประกอบกิจการ ณ วันเลิกประกอบกิจการ แต่ไม่รวมถึงสินค้าคงเหลือ และหรือทรัพย์สินดังกล่าวของผู้ประกอบการ ซึ่งได้ควบเข้ากันหรือได้โอนกิจการทั้งหมดให้แก่กัน ทั้งนี้ ผู้ประกอบการใหม่อันได้ควบเข้ากันหรือผู้รับโอนกิจการต้องอยู่ในบังคับที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 82/3 (7) กรณีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ 188 (พ.ศ.2534)
เลิกกิจการ เพิกถอนทะเบียน เลิกประกอบกิจการ ดูมาตรา 85/15 การขอให้อธิบดีกรมสรรพากรสั่งถอนทะเบียนภาษีมูลค่า เพิ่ม มาตรา 85/10 การสั่งเพิกถอนทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มโดยอธิบดีกรมสรรพากร มาตรา 85/17
สินค้าในระบบ VAT “สินค้า” หมายความว่า ทรัพย์สินที่มีรูปร่าง และไม่มีรูปร่าง ที่อาจมีราคาและถือเอาได้ ไม่ว่าจะมีไว้เพื่อขาย เพื่อใช้ หรือเพื่อการใดๆ รวมทั้งสิ่งของทุกชนิดที่นำเข้า (มาตรา 77/1(9)) อาจจำแนกได้ดังนี้ (1) สินค้าสำเร็จรูป (Finished Goods: FG) (2) วัตถุดิบ (Raw Material: RM) (3) งานระหว่างทำ (Work in Process: WIP) (4) ทรัพย์สินถาวรที่มีรูปร่าง เช่น เครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องใช้ ยานพาหนะ (5) ทรัพย์สินถาวรที่ไม่มีรูปร่าง เช่น ลิขสิทธิ์ หรือสิทธิอย่างอื่น สิทธิการเช่า สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า สูตร กรรมวิธี (6) ทรัพย์สินอื่นใดที่ผู้ประกอบการมีไว้เพื่อใช้หรือเพื่อการใดๆ เช่น สิ่งของที่ซื้อมาเพื่อใช้เป็นรางวัล หรือเพื่อแจกให้แก่พนักงานหรือบุคคลใดๆ เพื่อใช้ในกิจการ VAT ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นต้น
การให้เช่าซื้อสินค้า ถือเป็นการขายสินค้าตามมาตรา 77/1(8)(ก) ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เป็นไปตามมาตรา 78(2) ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.36/2536 ประกอบ ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528 (แก้ไขเพิ่มเติมโดย ท.ป 155/2549) ข้อ 3(5) ประกอบ สัญญาเช่าซื้อต้องปิดแสตมป์บริบูรณ์ (ดู ลักษณะตราสารที่ 3)
สินค้าที่ไม่อยู่ในข่ายต้องเสีย VAT กรณียกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม พืชผลทางการเกษตร ไม่ว่าจะเป็นส่วนใดของพืช และผลพลอยได้ (มาตรา 81(1)(ก)) สัตว์ ไม่ว่าจะเป็นส่วนใดของสัตว์ และผลพลอยได้ (มาตรา 81(1)(ข)) ปุ๋ย (มาตรา 81(1)(ค)) ปลาป่น อาหารสัตว์ (มาตรา 81(1)(ง)) ยา เคมีภัณฑ์ เพื่อบำรุง รักษา ป้องกัน ทำลาย หรือกำจัดศัตรูหรือโรคของพืชและสัตว์ (มาตรา 81(1)(จ)) หนังสือพิมพ์ นิตยสาร ตำราเรียน (มาตรา 81(1)(ฉ)) ยาสูบของโรงงานยาสูบที่ขายโดยบุคคลอื่น ของที่นำเข้าซึ่งได้รับยกเว้นอากรขาเข้าตามกฎหมายศุลกากร
สินค้าที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 81(1)(ก) – (ฉ) ยกเว้นสำหรับการขายสินค้าในราชอาณาจักร (ไม่ว่าจะมีมูลค่าของฐานภาษีเป็นจำนวนเท่าใดก็ตาม) แต่สำหรับการส่งออกเป็นกิจการที่อยู่ในบังคับที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งนี้ ภายใต้บังคับตามมาตรา 81/1 (มูลค่าของฐานภาษีในปีหนึ่งปีใดเกินกว่า 1.8 ล้านบาท สำหรับการขายสินค้าในราชอาณาจักรมีสิทธิขอเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 81/3(1) สำหรับการนำเข้าสินค้าดังกล่าว ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 81(2)
สินค้าที่ไม่อยู่ในข่ายต้องเสีย VAT ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ ตั๋วเงิน บัตรกำนัล บัตรภาษี ดูคำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรที่ 36/2540 Cash Card by Magic Card Co. Ltd. ทองคำแท่ง (= เงินตรา) สินค้าในระบบภาษีธุรกิจเฉพาะ (อสังหาริมทรัพย์ ของที่จำนำหลุดเป็นสิทธิแก่ผู้รับจำนำ) สินค้าในต่างประเทศ ทรัพย์สินใดๆ บรรดาที่ใช้ในระบบภาษีธุรกิจเฉพาะเป็นต้น
รายได้จากการขายสินค้า เป็นผู้ประกอบการ N กิจกรรม Non VAT Y VAT Exemption N ขาย VAT Goods มาตรา 81(1) พรฎ.(ฉ.239) ม.77/3 Y Out of VAT Scope N ขายในราชอาณาจักร Y Non VAT Base N นับรวมเป็นฐานภาษี VAT มาตรา 79(1)-(4) ประกาศ VAT(#40) Y VAT มาตรา 77/2(1) กิจการขนาดย่อม พรฎ.(ฉ.432) เว้นแต่กรณีตามมาตรา 81/1
การให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพในราชอาณาจักรโดยผู้ประกอบการ “บริการ” หมายความว่า การกระทำใดๆ อันอาจหาประโยชน์อันมีมูลค่าซึ่งมิใช่เป็นการขายสินค้า ทั้งกรณีที่ผู้ประกอบการได้รับประโยชน์หรือค่าตอบแทน และที่ไม่ได้รับประโยชน์หรือค่าตอบแทน รวมทั้ง การใช้บริการของตนเองไม่ว่าประการใดๆ แต่ทั้งนี้ ไม่รวมถึง (1) การใช้บริการหรือการนำสินค้าไปใช้เพื่อประกอบกิจการของตนเองโดยตรง ได้แก่ การนำสินค้าไปใช้ในการผลิตสินค้า การให้บริการ การบริหารของกิจการ หรือเพื่อประโยชน์ของทรัพย์สินที่มีไว้ในการประกอบกิจการให้บริการของตนเอง ทั้งนี้ ต้องเป็นการใช้ในกิจการที่อยู่ในบังคับที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม อนึ่ง การให้บริการดังกล่าวต้องมิใช่เพื่อการรับรอง หรือเพื่อการบริการอันมีลักษณะทำนองเดียวกัน (ประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2))
การให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพในราชอาณาจักรโดยผู้ประกอบการ (2) การนำเงินไปหาผลประโยชน์โดยการฝากธนาคาร หรือซื้อพันธบัตร หรือหลักทรัพย์ (3) การกระทำตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (มาตรา 77/1(10)) ดังนั้น “การให้บริการในราชอาณาจักร” หมายถึง กรณีที่ 1 การให้บริการที่ทำในราชอาณาจักรและได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร กรณีที่ 2 การให้บริการที่ทำในราชอาณาจักรและได้มีการใช้บริการนั้นในต่างประเทศ เช่น การให้บริการนำเที่ยวในต่างประเทศ กรณีที่ 3 การให้บริการที่ทำในต่างประเทศ และได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร ให้ถือว่าเป็นการให้บริการที่กระทำในราชอาณาจักรด้วย (มาตรา 77/2 วรรคสองและวรรคสาม)
รายได้จากการให้บริการ เป็นผู้ประกอบการ N กิจกรรม Non VAT Y VAT Exemption N VAT Services มาตรา 81(1) พรฎ.(ฉ.239) ม.77/3 Y Out of VAT Scope N ให้บริการในราชอาณาจักร Y Non VAT Base N นับรวมเป็นฐานภาษี VAT มาตรา 79(1)-(4) ประกาศ VAT(#40) Y รวมทั้งการนำเที่ยวในต่างประเทศ VAT มาตรา 77/2(1) เว้นแต่กรณีตามมาตรา 81/1
บริการที่ได้ให้ในต่างประเทศ และมีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร เป็นการบัญญัติจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มตามหลักปลายทาง (Destination Principle) ถือเป็นการให้บริการในราชอาณาจักร ตามมาตรา 77/2 วรรคสาม ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เป็นไปตามมาตรา 78/1 (3) เมื่อมีการชำระค่าบริการ ให้ผู้จ่ายค่าบริการมีหน้าที่นำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 83/6(2) ด้วยแบบ ภ.พ.36
Destination Principle: Import Services มาตรา 77/2 วรรคท้าย กรณีการให้บริการที่ทำในต่างประเทศ และได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร ถือเป็นการให้บริการที่กระทำในราชอาณาจักร เพื่อประโยชน์ในการบริหารการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม เพราะกรมศุลกากรไม่สามารถจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากบริการที่นำเข้าได้เนื่องจากข้อจำกัดด้านกฎหมาย มาตรา 78/1(3) ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้นเมื่อมีการชำระราคาค่าบริการ มาตรา 83/6(2) ให้ผู้ชำระค่าบริการมีหน้าที่นำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มตามแบบ ภ.พ.36 ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป ใบเสร็จรับเงินค่าภาษีมูลค่าเพิ่มถือเป็นใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/14 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่นำส่งถือเป็นภาษีซื้อตามมาตรา 77/1(18)
สรุปอัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม อัตรา VAT (9 ส่วน) อัตราภาษีส่วนท้องถิ่น (1 ส่วน) อัตรารวม (10 ส่วน) 4.5% 0.5% 5.0% 5.4% 0.6% 6.0% 6.3% 0.7% 7.0% 7.2% 0.8% 8.0% 8.1% 0.9% 9.0% 1.0% 10.0% 9.9% 1.1% 11.0% อัตราภาษีส่วนท้องถิ่นจำนวน 1 ใน 9 ของอัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม เป็นไปตามกฎหมายภาษีส่วนท้องถิ่น
ผู้ประกอบการจดทะเบียน ความหมาย: ผู้ประกอบการที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 85 หรือมาตรา 85/1 หรือที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มชั่วคราวตามมาตรา 85/3 หน้าที่และสิทธิของ “ผู้ประกอบการจดทะเบียน” มาตรา 86 สิทธิในการออกใบกำกับภาษีเมื่อความรับผิดในการ เสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้น มาตรา 82/4 สิทธิในการเรียกเก็บภาษีขายจากผู้ซื้อสินค้า หรือผู้รับบริการ มาตรา 82/3 สิทธิที่จะนำภาษีซื้อมาหักออกจากภาษีขาย มาตรา 84 สิทธิที่จะขอคืน VAT กรณีภาษีซื้อมากกว่า ภาษีขาย มาตรา 80/1 สิทธิที่จะเสีย VAT อัตรา 0%
องค์ประกอบของผู้ประกอบการ เป็นบุคคลมาตรา 77/1(1) ได้แก่ บุคคลธรรมดา (มาตรา 77/1(2)) คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล (มาตรา 77/1(3)) นิติบุคคล (มาตรา 77/1(4)) ประกอบกิจการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ ขายสินค้าหรือให้บริการเป็นทางค้าหรือหากำไรเป็นปกติธุรกิจ มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มเฉพาะสำหรับการขายสินค้าหรือการให้บริการในราชอาณาจักร กิจการที่อยู่ในบังคับที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (มาตรา 77/2(1)) กิจการที่ไม่นับรวมเป็นมูลค่าของฐานภาษี (มาตรา 79(1)-(4) และประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 40)) กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (มาตรา 81(1) มาตรา 77/3) กิจการที่ไม่อยู่ในบังคับที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการจดทะเบียน หน้าที่และสิทธิของ “ผู้ประกอบการจดทะเบียน” หน้าที่เกี่ยวกับทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามส่วน 9 มาตรา 85 -85/19 หน้าที่เกี่ยวกับใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ และใบลดหนี้ ตามส่วน 10 มาตรา 86 – 86/14 หน้าที่เกี่ยวกับการจัดทำรายงานและการเก็บรักษาหลักฐานและเอกสาร ตามส่วน 11 มาตรา 87 - 87/3 หน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามส่วน 6 มาตรา 82/3 – 82/15 หน้าที่เกี่ยวกับการยื่นรายการและการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ส่วน 7 มาตรา 83 - 83/10
ผู้ประกอบการ ความหมาย: บุคคลซึ่งขายสินค้าหรือให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ ไม่ว่าการกระทำดังกล่าวจะได้รับประโยชน์ หรือได้รับค่าตอบแทนหรือไม่ และไม่ว่าจะได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วหรือไม่ ขายสินค้าในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ ให้บริการในทางธุรกิจหรือวิขาชีพ บุคคล: มาตรา 77/1(1) ขยายความด้วย (2)(3)(4) ผู้ประกอบการจดทะเบียน (มาตรา 77/1(6)) การไล่สาย “ผู้ประกอบการ” มาตรา 77/2(1) VAT Activities มาตรา 82(1) VAT Payers มาตรา 89 Penalty
ผู้ประกอบการและผู้ประกอบการจดทะเบียน รายการ ผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการจดทะเบียน ภาระภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับการขายสินค้าหรือการให้บริการ หน้าที่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม - เกี่ยวกับทะเบียน (ส่วน 9) - ใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ (ส่วน 10) - การจัดทำรายงานและเก็บรักษาเอกสาร (ส่วน 11) - การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม (ส่วน 6) - การยื่นรายการและการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (ส่วน 7) ไม่มีหน้าที่แต่ต้องเสียเบี้ย ปรับ และค่าปรับทางอาญา สิทธิในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม - ออกใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ (ส่วน 10) - เรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม (มาตรา 82/4) - นำภาษีซื้อมาใช้เป็นเครดิต (มาตรา 82/3) - ขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ส่วน 8) - เสียภาษีมูลค่าเพิ่มอัตรา 0% (มาตรา 80/1) ไม่ได้รับสิทธิใดๆ ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
VAT & Non VAT Activities Revenue of Registrant ม.77/2(1) Y ม.77/1(8)(9) Supply of VAT Goods VAT Activities N ในราชอาณาจักร Y ม.77/1(10) Supply of VAT Services N มาตรา 81/1 Non VAT Activities 1. VAT Exemption 2. Non VAT Base 3.Out of VAT Scope ม. 81(1)(ก)-(น) และ พรฎ. (ฉบับที่ 239) ม.77/3 – SBT (ม. 91/2 และ ม. 91/3 ป.26/2534) ม. 79(1) – (4) และประกาศ VAT (ฉบับที่ 40) การนำ สินค้า/บริการไปใช้ในกิจการ VAT ของตนเอง, All VAT Business Transfer Run oversea business Cash discount & penalty Sale promotion reward Subsidy, Supporting etc.
VAT & Non VAT Activities 1. VAT Exemption 2. Non VAT Base 3.Out of VAT Scope Output Tax Non Declare in PP30 Use for allocate Input Tax - Don’t use for allocate Input Tax Input Tax Un-claimable Claimable
VAT & Non VAT Activities รายการ VAT Activities VAT Exemption Non VAT Base Out of VAT Scope ภาษีขายสำหรับรายได้ VAT Non VAT การแสดงราย ได้ในแบบ ภ.พ. 30 ต้องแสดงทั้งอัตรา 0% และ7% ต้องแสดง โดย เฉพาะรายการตามม. 81(1) ไม่ต้องแสดง รายได้ที่ต้องนำ ไปใช้เป็นฐานในการเฉลี่ยภาษีซื้อ ต้องนำไปใช้เป็นฐานในการเฉลี่ยภาษีซื้อ ไม่ต้องนำไปใช้เป็นฐานในการเฉลี่ยภาษีซื้อ ภาษีซื้อที่เกี่ยว ข้องโดยตรง ใช้เป็นภาษีซื้อได้ทั้งจำนวน ภาษีซื้อต้องห้ามนำไปถือเป็นราย จ่ายหรือต้นทุน เว้นแต่ใช้ร่วมกันใช้เป็นภาษีซื้อได้ทั้งจำนวน
VAT Point มาตรา 78 -78/3 กฎกระทรวง ฉบับที่ 189 VAT Activities มาตรา 77/2 (1) และ (2) VAT Point มาตรา 78 -78/3 กฎกระทรวง ฉบับที่ 189 VAT Base มาตรา 79 - 79/7 VAT Rates มาตรา 80- 80/2 VAT Functions ใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ (ม.86 – ม.86/14) การจัดทำรายงานและการเก็บรักษาหลักฐานและเอกสาร (ม.87 – ม.87/3) การยื่นรายการและการชำระภาษี (ม.83 - ม.83/10) การคำนวณภาษี (ม. 82/3 – ม.82/18) ชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม (ม. 83 – ม.83/10)
Supply of goods (Movable) การขายสินค้ากับ VATตาม ม.77/1(8)(9) Supply of goods (Movable) Y For Benefit N Y VAT Activity (ม.77/2) VAT Deemed Sales N Market Value มาตรา 79/3 Non VAT ยกเว้น VAT Exemption ไม่นับเป็นฐานภาษี Non VAT Base ไม่อยู่ในบังคับ VAT Out of VAT Scope
Supply of goods (Movable) No Benefit A. Co.,Ltd. B. Co.,Ltd. Y Charge VAT N No need to Issue Tax Inv. Issue Tax Invoice - WT. on value of goods only - WT. on value of goods & VAT - VAT: Non deductible exp.
การขายสินค้ากับการให้บริการ รายการ ขายสินค้า ให้บริการ 1. ความมุ่งหมาย มุ่งโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้า มุ่งผลสำเร็จของงาน 2. ความรับผิดในการ เสีย VAT เมื่อส่งมอบสินค้า เมื่อรับชำระราคา 3. ภาษีเงินได้หัก ณ ทีจ่าย โดยทั่วไปไม่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย 2%, 3% 4. การจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ ต้องจัดทำ ไม่ต้องจัดทำ 5. ปิดอากรแสตมป์ ไม่ต้องปิดอากรแสตมป์ โดยเฉพาะสัญญาจ้างทำของต้องปิด 1,000:1
Taxable Discount Trade Discount Cash Discount Special Discount - Target Promotion - Special Discount - Other ลดให้ในขณะขายหรือให้บริการ กรณีออก Full Form Tax Inv.ต้องแสดงให้ชัดแจ้งใน Tax Inv. - ส่งเสริมให้ชำระหนี้ตามกำหนด 2/10 , n/30 Credit Sale /Services ที่ได้ออกใบกำ กับภาษีแล้ว Credit Services ที่ยังมิได้ออกใบกำกับภาษี ผลทางปฏิบัติเหมือนกับ Trade Discount ผลทางปฏิบัติเหมือนกับ Cash Discount Reduce VAT Base ม.79(1) Reduce VAT Base ม.78/1 ดู Trade Discount ดู Cash Discount ไม่กระทบต่อ VAT Base Non WT. For Discount W.T. 3% Non WT. For Discount ถ้า Dealer เป็นผู้รับ
ม.77/1(8)(ข) ม.78(3) ม.78(1) ตัวการ (Principal) Consignor ฝากขายสินค้า Consignment Sale ตัวแทน (Agent) Consignee Discount Store Department Store Convenience Store ถือเป็นการขายสินค้า (Deemed Sale) ม.77/1(8)(ข) ม.78(3) ม.78(1) Follow ประกาศ VAT (ฉบับที่ 8) N Y - Tax Point: เมื่อตัวแทนส่งมอบ สินค้าให้ลูกค้า - ตัวแทนต้องออกใบกำกับแบบ เต็มรูปเท่านั้น - ตัวแทนต้องจัดทำรายงานสินค้า และวัตถุดิบแทนตัวการ Tax Point: เมื่อส่งมอบสินค้า ให้ตัวแทน ออกใบกำกับภาษี ออกใบลดหนี้เมื่อคืนสินค้า ดูข้อ 3.3 วรรคสอง ของคำสั่ง กรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528 ดูข้อ 3.3 วรรคแรก ของคำสั่ง กรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528
ความแตกต่างของ Consignment Sale ตามมาตรา 78(3) และ 78(1) รายการ มาตรา 78(1) มาตรา 78(3) 1. ความรับผิดในการเสีย VAT เมื่อส่งมอบสินค้าให้ผู้รับฝากขาย เมื่อผู้รับฝากขายได้ส่งมอบสินค้าให้ผู้ซื้อ 2. การรับรู้รายได้ในทาง CIT ดูข้อ 3.3 วรรคแรกของ ท.ป.1/2528 ดูข้อ 3.3 วรรคสองของ ท.ป.1/2528 3. การออก Tax Inv. จะออกแบบเต็มรูปหรืออย่างย่อก็ได้ ต้องออกแบบเต็มรูปเท่านั้น 4. การจัดทำ Stock Book ต่างฝ่ายต่างจัดทำในส่วนของตน ตัวแทนต้องจัดทำแทนตัวการ
การให้สินค้าเพื่อการส่งเสริมการจำหน่าย ป.118/2545 การให้สินค้าเพื่อการส่งเสริมการจำหน่าย Supplier: Manufacturer Importer Wholesaler Reward, Discount, Other Benefit for Sale Promotion เพื่อลดต้นทุนให้หรือ สร้าง/เพิ่มยอดขายให้ลูกค้า Dealer /Distributor: Wholesaler Retailer Exporter WT. 3% ค่าธรรมเนียมแรกเข้า เงินช่วยเหลือค่าใช้จ่าย เงินสนับสนุน ส่วนลดพิเศษ ส่วนลดตามเป้า อื่นๆ goods สินค้า -รับรู้เป็นรายได้ CIT -Non VAT -ถูกหัก ณ ที่จ่าย 3% N Non VAT Y VAT เรียกเก็บจาก ผู้รับรางวัล หมายเหตุ กรณีผู้ซื้อเป็น ผู้ผลิต ผู้ให้บริการ ผู้ใช้ ผู้บริโภค Non WT N Supporting Documents นำส่ง VAT Y ใบกำกับภาษี
สินค้าที่ให้ฟรี (FOC Goods) ม.79(4) ประกาศ VAT#40 ของแถม Premium Y แถมพร้อมขาย/บริการ Non VAT Base Value ไม่เกินมูลค่าขาย,บริการ N ข้อ 2(8) Uniform Y ไม่เกิน 2 ชุด/ปี, เสื้อนอก 1 ตัว/ปี N สินค้าตัวอย่างเพื่อ การส่งเสริมการขาย Y ข้อ 2(7) แก่ผู้บริโภคคนสุดท้าย N Reward รางวัลแต่ละวัน Y ข้อ 2(2) เช่น ห้างสรรพสินค้า N รางวัลจากการชิงโชค Y VAT WT. 5 % N Reward ให้กับ Dealer Sale Promotion Y VAT WT. 3 %
Handle Fee 7% WT 3% FOC. Sample Non VAT Base Sale 7% Supplier Dealer Consumers On behalf of Supplier C/N 7%
Staff Welfare Vat Activities การนำสินค้าไปใช้ในกิจการ Own use VAT Goods Non VAT Activities ถือเป็นการขาย/บริการ: VAT VAT: Deemed Sale Y N Entertainment Y ถือเป็นการบริการมี VAT VAT: Deemed Services N ใช้กับรถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสาร ที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ถือเป็นการขาย/บริการ VAT VAT: Deemed Sale Y N Y Staff Welfare Non VAT Base N Vat Activities Non VAT Base
นำสินค้าไปใช้กับรถยนต์ของตนเอง รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสาร ที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน Y ถือเป็นการขาย/ การให้บริการ VAT N รถยนต์อื่น ในกิจการ VAT Y Non VAT Base N ถือเป็นการขาย/ การให้บริการ VAT
Sale on Approval: ขายเผื่อชอบ Delivery Goods to customers to use before buy Tax Point: Delivery to Customers Create Tax Invoice Customers refund Goods Create Credit Note (C/N)
Donation VAT Goods องค์กรสาธารณะกุศล 1.สถานศึกษาของราชการ 2.โรงพยาบาลราชการ 3.สภากาชาดไทย 4.วัดวาอาราม 5.มูลนิธิ/สมาคม(Public Org) 6.โรงเรียน/มหาวิทยาลัย เอกชนประกอบกิจการใน รูปนิติบุคคล องค์การ/หน่วยงานราชการ ที่มีโครงการเพื่อ... 1.ช่วยเหลือผู้ประสบภัย พิบัติ 2.เพื่อให้รัฐบาล/ส่วนราชการ บริจาคต่อให้แก่สถาน ศึกษา Others ส่วนราชการ,รัฐวิสาหกิจ เช่น กรมตำรวจ ประกาศ VAT (ฉบับที่ 40) CIT : ม.65ตรี(3) VAT Exempt ม.81(1)(น) CIT: ม.65 ตรี (3) VAT: Non Vat Base CIT: ม.65 ตรี (3) Deemed Sale VAT Input Tax: Unclaimable Deduct Output Tax: Non Input Tax: Claimable Output Tax: Non Input Tax: Unclaimable Output Tax: VAT
ปีใหม่ สงกรานต์ Anniversary เปิดแนะนำสินค้าใหม่ ให้ของขวัญ (Gift) เนื่องในเทศกาล ปฏิทิน/ Diary Y Non VAT Base N มีชื่อ หรือ เครื่องหมายการค้าอยู่ถาวร เป็นสิ่งของที่พึงให้กันตามประเพณี ราคาไม่เกินสมควร Y N เพื่อการส่งเสริมการขาย Y VAT, W.T.? N อื่นๆ VAT กรณีไม่เรียกเก็บ รายจ่ายต้องห้าม
Inventories SBT VAT Exemption Non VAT Base Y Write off Stock Used in VAT Activities Non VAT Base Write off Stock Record - Fixed Assets, Depre. - Expenses = Deemed Sale/ Deemed Services VAT Car & Involve Car Goods VAT = Deemed Sale/ Deemed Service A/S , Exp. Cost of Fixed Assets Expenses
Shortage Stock Non VAT VAT * Y N Reasonable Non VAT VAT Penalty Fine * Considered from 1. Physical สารระเหย 2. Lack of Doc. to support 3. Compare with others 4. Thief 5. Accident 6. Manual Error
Destroyed Goods Character of Goods that Want to Destroy Not Normal Waste in manufacture process Expired Goods (สินค้าหมดอายุ) Obsolete Goods (สินค้าล้าสมัย) Damage Goods (สินค้าชำรุด) have Good Internal Control enough Separate Stock have Supporting Documents (C/N, Stock Book, Report) has Authorized Approval Inform Auditor Declare to RD’s Officer
ป.79/2541 Destroyed Goods Y Follow BOI Regulation Y BOI Goods N Y EPZ Goods FZ Goods Follow EPZ, Customs Regulation Chemical, Fresh Goods N N Non need Pre-declare Wait for Destroy Y 1. Name, Category, Quantity & Value of Goods 2. Destroy Method 3. Timing & Place 4. Reasonable Pre-declare ≥30 days before destroy
ป.56/2538 Member Fee, Fees Golf Club, Sport Club Entertainment Club ตกเป็นกรรมสิทธิ์โดยเด็ดขาดของกรรมการ, ที่ปรึกษาหรือพนักงาน Y N 1. ถือเป็นเงินได้ของผู้รับ 2. Input Tax ต้องห้าม 1. ไม่ถือเป็นเงินได้ของผู้รับ 2. Input Tax ต้องห้าม Y นำไปใช้เพื่อการรับรอง N Y นำไปใช้เพื่อการรับรอง N ค่ารับรองโดย เฉลียเป็นรายปีตามอายุสมาชิก ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม (Non Deductible) ตาม ม.65ตรี (3) ค่ารับรองโดย เฉลียเป็นรายปีตามอายุสมาชิก กรณีนำไปใช้ในกิจการไม่ต้องห้ามม.65ตรี พิจารณาเป็นรายกรณี
เขตอุตสาหกรรมส่งออก: เขตปลอดอากร Free Zone มาตรา 77/1(21) Bonded Warehouse คลังสินค้าทัณฑ์บน EPZ: Export Processing Zone เขตอุตสาหกรรมส่งออก: I-EAT Duty Free ร้านค้าปลอดอากร Cargo โรงพักสินค้า Manufacture โรงผลิตสินค้า
X X FZ 1 FZ 2 X X = นำเข้า ส่งออก ต่างประเทศ ในประเทศ 0% 0% 0% A B C D ยกเว้นอากรนำเข้า และ VAT ม.81(2) VAT 0% ม.80/1(1) X X ในประเทศ FZ 1 FZ 2 0% 0% 0% A B C D ม.80/1(6) X X = เสียอากรนำเข้า และ VAT 7% นำเข้า 0% = ส่งออก ม.80/1(1) E1 E2 F ดู ประกาศ VAT(ฉ.40) ข้อ 2(4) (5) Non VAT Base A,B,C,D ได้สิทธิจด VAT ตามมาตรา 81/3(3) ประกอบ พรฎ.(ฉ.241) มาตรา 3(2)
A ให้สิทธิ B ไปออกของ ต่างประเทศ X P/O P/O ในประเทศ B/ L B/ L Copy B/L 3 ให้ B เป็น Customs Clearance จ่ายอากรและ VAT ดังนั้น ภาษีซื้อเป็นของ B ตามมาตรา 78/3 วรรคแรก X P/O Copy B/L 2 A B C P/O 1 ขายสินค้า ส่งมอบสินค้า ไม่นับรวมเป็นฐาน VAT มาตรา 79(4) ประกาศ VAT # 40 ข้อ 2(9) ในประเทศ 4
A ให้สิทธิ B ไปออกของ ต่างประเทศ X P/O P/O X ในประเทศ B/ L B/ L Copy 3 ให้ B เป็นผู้ Customs Clearance เนื่องจาก B ประกอบกิจการในเขตปลอดอากรจึงได้รับยกเว้น อากรศุลกากรและ VAT ตามมาตรา 81(2)(ข) X P/O Copy B/L 2 Free Zone A B P/O 1 X ส่งออกสินค้า มาตรา 80/1(1) VAT 0% ในประเทศ 4
การส่งออก ต่างประเทศ X ในประเทศ B เป็นผู้ดำเนินการ ศุลกากร Customs Clearance P/O (1) X P/O (2) Factory A B ในประเทศ ผู้ดำเนินการ ศุลกากร : B ผู้ส่งออกที่แท้จริง : A ผู้ได้สิทธิอัตรา 0% : A ผู้เสียภาษี 7% ในประเทศ : B ผู้ออกใบกำกับภาษีขาย : B ผู้ใช้ภาษีซื้อ 7% : A
สั่งสินค้าจากต่างประเทศ แต่สินค้าอยู่ในประเทศ ผู้ขาย (1) X P/O (1) P/O (2) X A ส่งมอบสินค้า B ต้องการสินค้า ผู้ขาย (2) Issues Tax Inv to X ภพ.36 ตามมาตรา 83/6(1) Tax Point: Delivery
การส่งสินค้าออกทางไปรษณีย์และถือออกไปเอง Mail Export & Hand Carry Normal Export Customs Clearance Customs B/L A X ฉบับสลักหลังตรวจปล่อย Mail & Hand carry X Customs Clearance Process - Yes = Export VAT 0% - Not = No doc. VAT 7%
อาหารเลี้ยงพนักงาน Staff Meal สวัสดิการในสำนักงาน Welfare Y Non VAT Base หัก W.T.ม. 50(1) N ให้ใช้ส่วนตัว Private VAT ตามราคาตลาด Y N ขายในราคาถูก Discount Y VAT ตามราคาขายจริง
ผู้ประกอบการจดทะเบียน ให้บริการ มีค่าตอบแทน Y N ใช้บริการ โดยตนเอง Y N ใช้ในกิจการ VAT Y N VAT Point เมื่อรับชำระราคา เว้นแต่ออกใบ กำกับภาษีก่อน Non VAT Base VAT Point เมื่อใช้บริการ
ต่างประเทศสั่งซื้อสินค้าจากไทย แต่สินค้าอยู่ต่างประเทศ Vietnam V P/O (1) Direct Delivery A Out of VAT Scope P/O (2) X Australia
Sale Service Y. Co., ltd. Customer X. Co., ltd. Broker Commission VAT 0% ตาม ม.80/1(2) P/O Non VAT Base ตามม.79(4) ประกาศ VAT #40 ข้อ 2(3) Co., ltd. Principal
X. Co., ltd. Broker Commission Sale Service Out of VAT /scope ตาม ม.77/2(1) P/O Co., ltd. Principal B. Co., ltd. Customer VAT 7% ตาม ม.77/2(1)
X. Co., ltd. Principal P/O Commission VAT 7% ตาม ม.77/2(1) Co., ltd. Broker Sale Service B. Co., ltd. Customer
X. Co., ltd. Principal P/O Sale Service Commission Co., ltd. Broker B. Co., ltd. Customer VAT 7% ตาม ม.77/2(1) WT 3%
P/O Y. Co., ltd. X. Co. ltd. Customer Principal Commission Non VAT Base ตามม.79(4) ประกาศ VAT #40 ข้อ 2(3) Sale Service VAT 0% ตาม ม.80/1(2) Co., ltd. Broker มูลค่าของการให้บริการเนื่องจากการเป็นนายหน้าตัวแทนให้แก่ผู้ประกอบการ ในต่างประเทศ ทั้งนี้ เฉพาะในกรณีที่ผู้ประกอบการในต่างประเทศดังกล่าว ขายสินค้าหรือให้บริการกับผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการในต่างประเทศด้วยกัน
X. Co.ltd. A. Co., ltd. Foreign Co. จ่ายค่าโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ค่าใช้โปรแกรม ค่าจ้างเขียนโปรแกรม ค่าซื้อลิขสิทธิ์โดยเด็ดขาด ในโปรแกรม เป็นค่าบริการ ดู ป.104/2544 Y N ต้องนำส่ง VAT ตาม ม. 83/6(2) ไม่ต้องนำส่ง VAT ตาม ม. 83/6(2)
ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม แบ่งออกเป็น 3 กรณี ความรับผิดสำหรับการขายสินค้า มาตรา 78/3 และกฎกระทรวง ฉบับที่ 189 มาตรา 78 ความรับผิดสำหรับการให้บริการ มาตรา 78/1 ความรับผิดสำหรับการนำเข้า มาตรา 78/2
สรุป: ภาษีขาย เกิดจากการขายสินค้าหรือการให้บริการในราชอาณาจักร โดยผู้ประกอบการ จำนวนภาษีขาย = มูลค่าของฐานภาษี x อัตรา VAT 7% หรือ 0% เกิดขึ้นเมื่อความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้นตามมาตรา 78, 78/1 และ 78/3 (กฎกระทรวง ฉบับที่ 189) สำหรับผู้ประกอบการจดทะเบียน ใช้หลักฐานใบกำกับภาษี (มาตรา 86) ใบเพิ่มหนี้ (มาตรา 86/9) และใบลดหนี้ (มาตรา 86/10) ในเดือนที่ออกหลักฐานดังกล่าว
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มแบ่งออกเป็น 5 กรณี ดังนี้ 1. การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับการขายสินค้าที่มิใช่การส่งออก และการให้บริการ (มาตรา 81(1)(ก)-(น) แห่งประมวลรัษฎากร) 2. การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับการนำเข้าสินค้า (มาตรา 81(2) แห่งประมวลรัษฎากร) 3. การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับการส่งออก (มาตรา 81(3) แห่งประมวลรัษฎากร) – ปัจจุบันไม่มีผลใช้บังคับแล้ว 4. การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับผู้ประกอบการที่เป็นผู้ประกอบกิจการขนาดย่อม หรือการยกเว้นสำหรับรายรับ (มาตรา 81/1 แห่งประมวลรัษฎากร และพรฎ.(ฉ.432)) 5. การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะและกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ (มาตรา 77/3 แห่งประมวลรัษฎากร)
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับการขายสินค้าที่มิใช่การส่งออก และการให้บริการ การขายสินค้าเกษตร ที่เป็นผลผลิตจากเกษตรกรรม ปศุสัตว์ และการประมง ทั้งนี้ เฉพาะที่ยังมิได้แปรรูป หรือแปรรูปเบื้องต้น การขายพืชผลทางการเกษตร (มาตรา 81(1)(ก)) การขายสัตว์ (มาตรา 81(1)(ข)) การขายสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับการเกษตร ได้แก่ การขายปุ๋ย (ม. 81(1)(ค)) การขายปลาป่น อาหารสัตว์ (มาตรา 81(1)(ง)) การขายยา, เคมีภัณฑ์ที่ใช้เพื่อบำรุง รักษา ป้องกัน ทำลาย หรือกำจัดศัตรูหรือโรคของพืชหรือสัตว์ (ม. 81(1)(จ)) การขายหนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรือตำราเรียน (ม. 81(1)(ฉ))
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับการขายสินค้าที่มิใช่การส่งออก และการให้บริการ การให้บริการที่จำเป็นต่อการครองชีพและบริการที่เป็นสวัสดิการสังคม ได้แก่ การให้บริการการศึกษาของสถานศึกษาทั้งของทางราชการ และเอกชน (ม. 81(1)(ช)) การให้บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาล (ม. 81(1) (ญ)) การให้บริการขนส่งในราชอาณาจักร (ม. 81(1)(ณ)) การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ ซึ่งมิใช่เป็นการขนส่งโดยอากาศยานหรือเรือเดินทะเล (ม. 81(1)(ด)) การให้บริการของสถาบัน AIT เนติบัณฑิตยสภา
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับการขายสินค้าที่มิใช่การส่งออก และการให้บริการ การให้บริการที่เป็นสื่อวัฒนธรรม และพลานามัย ได้แก่ การให้บริการห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์ (มาตรา 81(1)(ฏ)) การให้บริการจัดแข่งขันกีฬาสมัครเล่น (มาตรา 81(1)(ฑ)) การให้บริการเป็นงานทางศิลปะ และวัฒนธรรมในสาขานาฏศิลป์ หรือดุริยางคศิลป์ ที่มิได้เรียกเก็บค่าบริการโดยตรงจากผู้ชม หรือผู้ฟัง แต่ไม่รวมถึงการให้บริการโดยกระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนท้องถิ่น (มาตรา 81(1)(ซ))
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับการขายสินค้าที่มิใช่การส่งออก และการให้บริการ การให้บริการที่มีลักษณะคล้ายการใช้แรงงาน และปัจจัยการผลิต ได้แก่ การให้บริการด้านการประกอบโรคศิลปะ การสอบบัญชี และการว่าความ (มาตรา 81(1)(ฌ)) การให้บริการวิจัย หรือการให้บริการทางวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ที่มิใช่เป็นการกระทำในทางธุรกิจ ที่กระทำโดยบุคคลธรรม คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล หรือมูลนิธิ (มาตรา 81(1)(ฏ)) การให้บริการตามสัญญาจ้างแรงงาน (มาตรา 81(1)(ฐ)) การให้บริการของนักแสดงสาธารณะ (มาตรา 81(1)(ฒ)) การให้บริการเช่าอสังหาริมทรัพย์ (มาตรา 81(1)(ต))
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับการขายสินค้าที่มิใช่การส่งออก และการให้บริการ การขายสินค้าหรือการให้บริการอี่นๆ ได้แก่ การให้บริการของราชการส่วนท้องถิ่น ที่ไม่เป็นการพาณิชย์ (มาตรา 81(1)(ถ)) การขายสินค้า หรือการให้บริการของกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งส่งรายรับทั้งสิ้นให้แก่รัฐโดยไม่หักรายจ่าย (มาตรา 81(1)(ท)) การขายสินค้าตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 239) (มาตรา 81(1)(น)) การให้บริการตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 239) (มาตรา 81(1)(น)) การให้บริการเช่าอสังหาริมทรัพย์ (มาตรา 81(1)(ต)) การนำเงินไปหาผลประโยชน์โดยการฝากธนาคาร หรือซื้อพันธบัตร หรือหลักทรัพย์ (มาตรา 77/1(10))
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับการขายสินค้าตามพรฎ. (ฉบับที่ 239) การขายสินค้าตามมาตรา 3 แห่งพรฎ. (ฉ.239) การขายบุหรี่ซิกาแรตที่ผลิตโดยโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง โดยผู้ขายที่มิใช่ผู้ผลิตสินค้าดังกล่าว แต่ไม่รวมถึงผู้ขายที่เป็นคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทร้านค้าปลอดอากร (มาตรา 3(1)) การขายสลากกินแบ่งของรัฐบาล สลากออมสินของรัฐบาล และสลากบำรุงกาชาดไทย (มาตรา 3(2)) การขายแสตมป์ไปรษณีย์ แสตมป์อากร หรือแสตมป์อื่นของรัฐบาล องค์การของรัฐบาล หรือองค์การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ เฉพาะที่ยังไม่ได้ใช้ในราคาที่ไม่เกินมูลค่าที่ตราไว้ (มาตรา 3(3)) การขายสินค้าที่ได้กระทำในเขตพื้นที่พัฒนาร่วมตามกฎหมายว่าด้วยองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย (มาตรา 3(11))
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับการขายสินค้าตามพรฎ. (ฉบับที่ 239) การขายสินค้าตามมาตรา 3 แห่งพรฎ. (ฉ.239) (ต่อ) การบริจาคสินค้าให้องค์การสาธารณกุศลตามมาตรา 47(7)(ข) ดังนี้ (มาตรา 3(4)) สถานพยาบาลและสถานศึกษาของทางราชการ สถานพยาบาลและสถานศึกษาขององค์การของรัฐบาล สภากาชาดไทย วัดวาอาราม มูลนิธิหรือสมาคมที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังประกาศกำหนดให้เป็นองค์การสาธารณกุศล โรงเรียนเอกชนที่ประกอบกิจการในรูปของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือนิติบุคคลอื่น สถาบันอุดมศึกษาเอกชน
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับการขายสินค้าตามพรฎ. (ฉบับที่ 239) การขายสินค้าตามมาตรา 3 แห่งพรฎ. (ฉ.239) (ต่อ) การขายน้ำมันดีเซลของผู้ประกอบการซึ่งเป็นผู้ค้าน้ำมัน สำหรับมูลค่าของฐานภาษีที่เกิดขึ้นจากการขายน้ำมันดีเซลให้แก่สถานีบริการจำหน่ายน้ำมันกลางทะเลในเขตต่อเนื่องของราชอาณาจักรไทย ซึ่งกระทำตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2545 เป็นต้นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด (มาตรา 3(14)) การขายน้ำมันดีเซลของผู้ประกอบการซึ่งเป็นสถานีบริการจำหน่าย น้ำมันกลางทะเลในเขตต่อเนื่องของราชอาณาจักรไทย สำหรับมูลค่าของฐานภาษีที่เกิดขึ้นจากการขายน้ำมันดีเซลที่ซื้อมาจากผู้ค้าน้ำมันตาม (14) ให้แก่เรือจดทะเบียนสำหรับการประมง ซึ่งกระทำตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด (มาตรา 3(15))
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับการขายสินค้าตามพรฎ. (ฉบับที่ 239) การขายสินค้าตามมาตรา 3 แห่ง พรฎ. (ฉ.239) (ต่อ) การขายสินค้าของคลังสินค้าทัณฑ์บนสำหรับแสดงและขายของที่เก็บในคลังสินค้าทัณฑ์บนนั้นที่ตั้งอยู่ในสนามบินศุลกากร ให้แก่ผู้เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร สำหรับมูลค่าของฐานภาษีอันเนื่องมาจากการขายสินค้า ดังต่อไปนี้ สินค้าที่ผู้เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรซื้อเพื่อใช้เองเป็นการส่วนตัว หรือใช้ในวิชาชีพ ราคารวมกันไม่เกินสองหมื่นบาท สินค้าที่ใช้ในบ้านเรือนที่ผู้เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรเนื่องจากการย้ายภูมิลำเนาซื้อ ราคารวมกันไม่เกินห้าหมื่นบาท บุหรี่ปริมาณไม่เกินสองร้อยมวน หรือซิการ์หรือยาเส้นปริมาณไม่เกินอย่างละสองร้อยห้าสิบกรัม หรือหลายชนิดรวมกันปริมาณไม่เกินสองร้อยห้าสิบกรัม แต่ทั้งนี้ บุหรี่ต้องมีปริมาณไม่เกินสองร้อยมวน สุราปริมาณไม่เกินหนึ่งลิตร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด มาตรา 3(16))
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับการขายสินค้าตามพรฎ. (ฉบับที่ 239) การให้บริการตามมาตรา 4 แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 239) การให้บริการสีข้าว (มาตรา 4(1)) การให้บริการสื่อสารทางวิทยุเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ระหว่างสถานีพื้นดิน หรือระหว่างอากาศกับพื้นดิน และการสื่อสารวิทยุเกี่ยวกับงานอุตุนิยม ตลอดจนการบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เฉพาะส่วนที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ซึ่งได้รับมอบหมายจากรัฐบาลให้จัดบริการดังกล่าว (มาตรา 4(3)) การให้บริการการศึกษาของสถานศึกษาที่รัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา โดยประกาศดังกล่าวจะกำหนดขอบเขตและเงื่อนไขอย่างใดก็ได้ (มาตรา 4(4)) การให้บริการที่ได้กระทำในเขตพื้นที่พัฒนาร่วมตามกฎหมายว่าด้วยองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย (มาตรา 4 (9))
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับการขายสินค้าตามพรฎ. (ฉบับที่ 239) การให้บริการตามมาตรา 4 แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 239) (ต่อ) การให้บริการรับประกันวินาศภัยตามกฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัยของบรรษัทประกันต่อแห่งเอเชีย เฉพาะการให้บริการซึ่งกระทำตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2542 เป็นต้นไป (มาตรา 4(11)) การให้บริการรับประกันวินาศภัยตามกฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัยของผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักร เฉพาะการให้บริการแก่บรรษัทประกันต่อแห่งเอเชียที่กระทำตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2542 เป็นต้นไป และได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร (มาตรา 4(12))
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับการนำเข้าสินค้า สินค้าตาม มาตรา 81(1)(ก) ถึง (ฉ) (ม.81(2)(ก)) พืชผลทางการเกษตร (ม. 81(1)(ก)) สัตว์ (ม. 81(1)(ข)) ปุ๋ย (ม. 81(1)(ค)) ปลาป่น อาหารสัตว์ (ม. 81(1)(ง)) ยา, เคมีภัณฑ์ที่ใช้เพื่อบำรุง รักษา ป้องกัน ทำลาย หรือกำจัดศัตรูหรือโรคของพืชหรือสัตว์ (ม. 81(1)(จ)) หนังสือพิมพ์ นิตยสาร ตำราเรียน (ม.81(1)(ฉ)) สินค้าจากต่างประเทศที่นำเข้าไปในเขตปลอดอากร ทั้งนี้ เฉพาะสินค้าที่ได้รับยกเว้นอากรขาเข้า (ม.81(2)(ข)) สินค้าที่จำแนกประเภทไว้ในภาคว่าด้วยของที่ได้รับยกเว้นอากร ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร (ม. 81(2)(ค)) สินค้าซึ่งนำเข้าและอยู่ในอารักขาของศุลกากร แล้วได้ส่งกลับออกไปต่างประเทศ โดยได้คืนอากรขาเข้า (ม. 81(2)(ง))
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับมูลค่าของฐานภาษีไม่เกินกิจการขนาดย่อม มาตรา 81/1 Income 1.8 M. 30 days X X X X VAT Registered within 30 days ตามมาตรา 85/1(1) พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับที่ (237) พ.ศ.2534) สำหรับมูลค่าของฐานภาษีต่อปีไม่เกิน 600,000 บาท พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับที่ (354) พ.ศ.2542) สำหรับมูลค่าของฐานภาษีต่อปีไม่เกิน 1,200,000 บาท พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับที่ (432) พ.ศ.2548) สำหรับมูลค่าของฐานภาษีต่อปีไม่เกิน 1,800,000 บาท
Case Study: มีผลกระทบอย่างไรในกรณีต่อไปนี้ 1. กรณีผู้ประกอบการไม่ได้จดทะเบียน VAT ภายใน 30วัน นับแต่วันที่มีมูลค่าของฐานภาษี (รายได้) เกินกว่า 1.8 ล้านบาท 2. กรณีผู้ประกอบการได้จดทะเบียน VAT ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีมูลค่าของฐานภาษี (รายได้) เกินกว่า 1.8 ล้านบาท Note:- กำหนดเวลา 30 วัน นับแต่วันที่มีมูลค่าของฐานภาษีเกินกว่า 1.8 ล้านบาทมีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ที่จะให้ผู้ประกอบการมีเวลาในการเตรียมตัวเข้าสู่ระบบ VAT ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับระบบ VAT จัดเตรียมเอกสารหลักฐานในระบบ VAT การจดทะเบียนในกำหนดเวลา เป็นการปฏิบัติตามกฎหมายไม่ควรได้รับโทษใดๆ ทางภาษีอากร ผู้ประกอบการเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนตั้งแต่วันที่จดทะเบียน
Case Study: มีผลกระทบอย่างไรในกรณีต่อไปนี้ 1. กรณีผู้ประกอบการไม่ได้จดทะเบียน VAT ภายใน 30วัน นับแต่วันที่มีมูลค่าของฐานภาษี (รายได้) เกินกว่า 1.8 ล้านบาท ตอบ 1. ผู้ประกอบการต้องรับผิดเสีย VAT สำหรับรายได้ใน ส่วนที่เกิน 1.8 ล้านบาท 2. ผู้ประกอบการต้องรับผิดเสียเบี้ยปรับตามมาตรา 89(1) 3. ต้องระวางโทษอาญาตามมาตรา 90/2(2) หมายเหตุ เป็นเพราะผู้ประกอบการสละสิทธิประโยชน์อันจะพึงมี จากการจดทะเบียน VAT ภายในกำหนดเวลา
Case Study: มีผลกระทบอย่างไรในกรณีต่อไปนี้ 2. กรณีผู้ประกอบการได้จดทะเบียน VAT ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีมูลค่าของฐานภาษี (รายได้) เกินกว่า 1.8 ล้านบาท ตอบ 1. รายได้ในส่วนที่เกิน 1.8 ล้านบาท ก่อนวันจดทะเบียน VAT ไม่ต้องเสีย VAT เพราะเป็นการปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด 2. เกณฑ์รายได้ 1.8 ล้านบาท มีขึ้นเพื่อเริ่มต้นในการนับ กำหนดเวลา 30 วัน 3. ผู้ประกอบการที่ได้จดทะเบียนในกำหนดเวลาดังกล่าว ได้สิทธิการเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนตั้งแต่วันที่ได้ จดทะเบียน VAT เป็นต้นไป
การวางแผนเกี่ยวกับภาษีขาย หลัก “ภาษีขายห้ามขาด” มูลเหตุที่ทำให้ภาษีขายขาด - กิจกรรม VAT ไม่ถูกต้อง - มูลค่าของฐานภาษีไม่ถูกต้อง - Tax Point ไม่ถูกต้อง - “VAT” Human: Knowledge - Tax Mapping & Tax Manual - Internal Audit/ Control “Check & Balance” Problem Solving
ภาษีซื้อ (Input Tax) “ภาษีซื้อ หมายถึง ภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 7 ของราคาสินค้าหรือราคาค่าบริการที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนได้จ่าย หรือพึงต้องจ่ายตามหลักฐานต้นฉบับใบกำกับภาษี เนื่องจากการซื้อสินค้าหรือการรับบริการในราชอาณาจักร หรือเนื่องจากการนำเข้า หรือเนื่องจากได้รับโอนสินค้านำเข้าที่จำแนกประเภทไว้ในภาคว่าด้วยของที่ได้รับยกเว้นอากร ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร หรือเนื่องจากการนำส่งตามมาตรา 83/5 มาตรา 83/6 และมาตรา 83/7 แห่งประมวลรัษฎากร”
X X X Input Tax ม.83/6(2) Normal Special 1. Purchase goods Full Form Used Services Tax Inv 2. Import - goods - Customs’ Receipt - Services - ภพ.36 Rd’s Receipt Registrant ม.83/6(2) 7/ Next Month (7/02/04) Input Tax 7/2/04 05/01/04 ภ.พ.36 Normal Paid Service Fee X X Input Tax 7/2/05 Special X Surcharge (ม.89/1)
ภาษีซื้อลงวันที่ใด สามารถใช้ได้ใน 3 ปี การใช้ภาษีซื้อ ภาษีซื้อลงวันที่ใด สามารถใช้ได้ใน 3 ปี 3 ปี วันที่ระบุในใบกำกับภาษี 6 เดือน หลัก - ให้ใช้เป็นภาษีซื้อในเดือนภาษีที่ระบุในใบกำกับภาษี (มาตรา 82/3) - ความรับผิดของผู้ขายอยู่วันใด ผู้ซื้อสามารถใช้ได้ในวันนั้น ข้อยกเว้น - แต่สามารถใช้ได้ใน 6 เดือน ถัดมาโดยให้มีข้อความว่า “ถือเป็นภาษีซื้อในเดือน....” - ไม่ต้องพิสูจน์ว่าได้รับเมื่อไร ถ้าได้รับหลังช่วง 6 เดือน แต่ไม่เกิน 3 ปี นับแต่วันที่ออกใบกำกับภาษี ให้นำไปใช้ในเดือน ที่ระบุในใบกำกับภาษีซื้อเท่านั้น ด้วยวิธียื่นเพิ่มเติม ตามม.83/4 ต้องขอคืนเป็นเงินสดเท่านั้น
ประกาศ VAT (ฉบับที่ 4) ข้อ 1 ภาษีซื้อที่มิได้นำไปหักในการคำนวณภาษีในเดือนภาษีเพราะเหตุดังต่อไปนี้ (1) เหตุจำเป็นซึ่งเกิดขึ้นตามประเพณีทางการค้า (2) เหตุสุดวิสัย (3) ได้รับใบกำกับภาษีในเดือนภาษีอื่นที่มิใช่เดือนภาษีที่ระบุไว้ในใบกำกับภาษี ข้อ 2 ภาษีซื้อที่มิได้นำไปหักในการคำนวณภาษีในเดือนภาษีเพราะมีเหตุจำเป็นตามข้อ 1 ให้มีสิทธินำไปหักในการคำนวณภาษีในเดือนภาษีหลังจากนั้นได้ แต่ต้องไม่เกินหกเดือนนับแต่เดือนถัดจากเดือนที่ออกใบกำกับภาษี การปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนระบุข้อความว่า “ถือเป็นภาษีซื้อในเดือนภาษี...” ไว้ในใบกำกับภาษีดังกล่าว โดยข้อความดังกล่าวจะตีพิมพ์ จัดทำขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ประทับด้วยตรายาง เขียนด้วยหมึก พิมพ์ดีด หรือทำให้ปรากฏขึ้นด้วย วิธีการอื่นใดในลักษณะทำนองเดียวกันก็ได้”
ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป (Full Form Tax Invoice) ม.86/4 1. คำว่า ใบกำกับภาษี 2. ชื่อ ที่อยู่ เลขประจำตัวผู้เสียภาษี ผู้ออก (Supplier) 3. ชื่อ และที่อยู่ ของผู้ซื้อสินค้า/ ผู้รับบริการ 4. เลขที่ใบกำกับภาษี และเล่มที่ ... (ถ้ามี) 5. รายละเอียดของสินค้า หรือบริการ ได้แก่ ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ มูลค่า (ไม่รวม VAT) กรณีให้ส่วนการค้าต้องแสดงส่วนการค้าโดยชัดแจ้ง (มาตรา 79(1)) 6. VAT (ทศนิยม 2 ตำแหน่ง ส่วนที่เกิน 2 ตำแหน่งให้ใช้หลัก 5/4) 7. วันที่ออกใบกำกับ 8. รายการอื่นที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด 8.1 เอกสารออกเป็นชุด (ถ้าเอกสารฉบับแรกไม่ใช่ใบกำกับภาษี) 8.2 สาขาที่ออก ระบุสาขา....(ถ้าเอาใบกำกับภาษีของสำนักงานใหญ่มาใช้) 8.3 มีเลขทะเบียนรถยนต์ (ถ้าผู้ออกเป็นสถานีบริการน้ำมัน) ส่วนที่ไม่มีการบังคับ ยอดเงินรวม,จำนวนเงินตัวอักษร,เบอร์โทรศัพท์,ลายมือชื่อผู้ออกใบกำกับ รายการเหล่านี้ แก้ไข เขียนผิดได้ ไม่มีปัญหา ไม่เซ็นชื่อก็ได้
ภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/5 Non Creditable Input Tax (1) ภาษีซื้อที่ไม่มีใบกำกับภาษี ไม่เคยมีใบกำกับภาษี หรือเคยมีแต่สูญหายโดยไม่มีใบแทนฯ (2) เป็นภาษีซื้อตาม Tax Inv. แบบเต็มรูปไม่มีข้อความครบถ้วนสมบรูณ์ ตาม ม.86/4 (3) เป็นภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการ ได้แก่ ภาษีซื้อสำหรับรายจ่ายต้องห้าม (4) ภาษีสำหรับค่ารับรอง (5) ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีที่ออกโดยผู้ไม่มีสิทธิที่จะออกตามกฎหมาย (6) ภาษีซื้อตามประกาศ VAT (ฉบับที่ 42)
Non Creditable Input Tax vs. Non deductible Exp. 1. ภาษีซื้อที่ไม่มีใบกำกับภาษี (มาตรา 82/5(1)) ไม่เคยมีใบกำกับภาษี หรือเคยมีแต่สูญหายโดยไม่มีใบแทนฯ 2. เป็นภาษีซื้อตาม Tax Inv. แบบเต็มรูปไม่มีข้อความครบถ้วนสมบรูณ์ ตาม ม.86/4 (มาตรา 82/5(2)) 3. เป็นภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการ ได้แก่ ภาษีซื้อสำหรับรายจ่ายต้องห้าม (มาตรา 82/5(3)) 4. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีที่ออกโดยผู้ไม่มีสิทธิที่จะออกตาม กม. (มาตรา 82/5(5)) อนึ่ง ภาษีซื้อที่เครดิตได้ แต่ไม่นำไปใช้ ก็ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม ด้วย (มาตรา 65 ตรี (6 ทวิ))
ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้ มาตรา 65 ตรี (6 ทวิ) ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้ ได้แก่ ภาษีซื้อสำหรับค่ารับรอง ภาษีซื้อต้องห้ามตามที่จะได้กำหนดโดย พรฎ. (ฉบับที่ 243) พ.ศ.2534 ภาษีซื้อต้องห้ามตาม พรฎ. (ฉบับที่ 243) พ.ศ.2534 ได้แก่ ภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/5(6) ภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/5(6) ได้แก่ ภาษีซื้อต้องห้ามตามประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 42)
ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้ ได้แก่ ภาษีซื้อสำหรับค่ารับรอง และภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/5 (6) ดังนี้ (มาตรา 65 ตรี (6 ทวิ)) 1. ภาษีซื้อสำหรับค่ารับรอง 2. ภาษีซื้อสำหรับรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน รวมทั้งภาษีซื้อสำหรับสินค้าหรือบริการที่เกี่ยวกับรถยนต์ดังกล่าว 3. ภาษีซื้อสำหรับรถยนต์ที่ไม่ใช่รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ซึ่งทำการดัดแปลงให้เป็นรถยนต์ที่ไม่ใช่รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน 4. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีอย่างย่อ 5. ภาษีซื้อสำหรับทรัพย์สินหรือรายจ่ายที่ใช้ในกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษี VAT
ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้ 6. ภาษีซื้อจากการเฉลี่ยในส่วนที่เป็นของกิจการที่ไม่ต้องเสีย VAT 7. ภาษีซื้อสำหรับสินค้าหรือบริการที่ต้องใช้ในกิจการทั้งที่ต้องเสีย VAT และไม่ต้องเสีย VAT ซึ่งรายได้ในส่วนที่ต้องเสีย VAT ไม่น้อยกว่า 90% และผู้ประกอบการจดทะเบียนเลือกใช้สิทธิไม่เฉลี่ยภาษีซื้อ 8. ภาษีซื้อสำหรับการก่อสร้างอาคารหรืออสังหาริมทรัพย์ที่ใช้ในกิจการที่ต้องเสีย VAT และต่อมาไม่เกิน 3 ปีนับแต่เดือนที่สร้างเสร็จสมบูรณ์ได้ขายหรือให้เช่าหรือนำไปใช้ในกิจการที่ต้องเสีย VAT 9. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่รายการ “ใบกำกับภาษี” ไม่ได้ตีพิมพ์หรือจัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำใบกำกับภาษีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ
ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้ (3) 10. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่รายการ “ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ออกใบกำกับภาษี” ไม่ได้ตีพิมพ์หรือจัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำใบกำกับภาษีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ 11. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่ใบกำกับภาษีไม่ใช่เอกสารฉบับแรก และรายการ “เอกสารออกเป็นชุด” ไม่ได้ตีพิมพ์หรือจัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำใบกำกับภาษีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ 12. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปของสำนักใหญ่ที่สาขานำไปออกโดยไม่มีรายการ “สาขาที่ออกใบกำกับภาษีคือ ...” 13. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปสำหรับค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับรถยนต์ที่ออกโดยผู้ประกอบกิจการสถานีบริการน้ำมัน โดยไม่มีรายการ “เลขทะเบียนรถยนต์”
ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้ 14. ภาษีซื้อตามสำเนาใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป เว้นแต่ใบกำกับภาษีที่ไม่ใช่เอกสารฉบับแรกซึ่งมีรายการ “เอกสารออกเป็นชุด” 15. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่รายการในใบกำกับภาษีได้ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลง เว้นแต่รายการดังต่อไปนี้ (1) การแก้ไขที่อยู่ของผู้ออกใบกำกับภาษี เนื่องจากทางราชการได้ประกาศเปลี่ยนแปลง เลขที่ ชื่อถนน หมู่บ้าน ตำบลหรือแขวง อำเภอหรือเขต หรือจังหวัด โดยลงลายมือชื่อกำกับการแก้ไข หรือประทับด้วยตรายางภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ทางราชการประกาศเปลี่ยนแปลง (2) การแก้ไขเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ออกใบกำกับภาษี โดยลงลายมือชื่อกำกับการแก้ไข หรือประทับด้วยตรายางภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่กรมสรรพากรได้แจ้งการเปลี่ยนแปลงรายการดังกล่าวให้ใหม่
สรุป: Non Creditable Input Tax vs. Deductible Exp. ภาษีซื้อสำหรับค่ารับรอง (มาตรา 82/5(4)) ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีอย่างย่อ (มาตรา 82/5(6)) ภาษีซื้อสำหรับรายการดังต่อไปนี้ (มาตรา 82/5(6)) รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน รวมทั้งรายจ่ายเกี่ยวกับรถยนต์ดังกล่าว เว้นแต่ในกิจการขาย ให้เช่าซื้อ หรือให้เช่ารถยนต์ดังกล่าว รายจ่ายหรือทรัพย์สินของกิจการ Non VAT เฉลี่ยภาษีซื้อตามมาตรา 82/6 และประกาศ VAT (ฉบับที่ 29) ภาษีซื้อของกิจการ Non VAT ทั้งทรัพย์สินและค่าใช้จ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาษีซื้อทั้งฉบับหรือเกิดจากการเฉลี่ยภาษีซื้อ หรือเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์ในการใช้ทรัพย์สิน
สรุป: Non Creditable Input Tax vs. Deductible Exp. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปดังต่อไปนี้ (มาตรา 82/5(6)) ใบกำกับภาษีซื้อที่มีรายการครบถ้วน แต่มีรายการแก้ไขเปลี่ยนแปลง ใบกำกับภาษีซื้อที่มีรายการครบถ้วน แต่มิได้จัดทำให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของกฎหมาย - Pre-printed (รายการที่ 1, 2 หรือ 8.1) หรือ - Computerized ใบกำกับภาษีซื้อที่ไม่มีรายการดังนี้ - สาขาที่ออก กรณีสาขานำใบกำกับภาษีของสำนักงานใหญ่ไปออก - เลขทะเบียนรถยนต์ กรณีออกโดยสถานีบริการน้ำมัน
Audit Input Tax 1. เป็นภาษีซื้อที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับ VAT Activities Out of VAT Scope Income ไม่นับรวมเป็นฐานในการเฉลี่ยภาษีซื้อ ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2546 เป็นต้นไป ประกาศ VAT (ฉบับที่ 29) 2. เป็นภาษีซื้อตาม Tax Inv. แบบเต็มรูปที่มีข้อความครบถ้วนสมบรูณ์ ตาม มาตรา 86/4 และเป็นต้นฉบับ เว้นแต่ใบแทนใบกำกับภาษี 3. เป็นใบกำกับภาษีซื้อที่ไม่มีรายการแก้ไขเปลี่ยนแปลง 4. วิธีการออก Tax Inv. - ถ้า รายการ (1) (2) และ (8.1) (ถ้ามี) ออกโดย Pre-printed รายการอื่นจะจัดทำขึ้นโดยวิธีใดก็ได้ - ถ้ารายการ (1) / (2) และ/ (8.1) (ถ้ามี) จัดทำโดย Computerized รายการอื่น ๆ ต้องจัดทำ Computerized ทั้งฉบับเว้นแต่รายการ Pre-printed 5. 2 Decimals VAT xxx.xx x (ใช้หลัก 5/4)
การเฉลี่ยภาษีซื้อ วิธีเฉลี่ย 2 วิธี รายได้ กับ พื้นที่การใช้อาคาร กิจการ VAT VAT Division ทั่วไป Common Use กิจการยกเว้น VAT Non VAT Division 100% 100% ม.82/6 ประกาศอธิบดี VAT:29# เฉลี่ยภาษีซื้อ Exp , Cost ภาษีซื้อขอคืน Assets ใช้ในแผนก Non Vat ถือเป็นบริการ : คิดค่าใช้ มีภาษีขายเกิดขึ้นถือเป็นค่าใช้จ่ายของแผนก Non Vat Division Assets Sale Non VAT Assets Sale VAT Assets Sale VAT 100% วิธีเฉลี่ย 2 วิธี รายได้ กับ พื้นที่การใช้อาคาร
การเฉลี่ยภาษีซื้อ (Allocate Input Tax) ค่าก่อสร้างอาคาร Y เฉลี่ยภาษีซื้อตาม พื้นที่การใช้อาคาร N เฉลี่ยภาษีซื้อตาม สัดส่วนรายได้
การเฉลี่ยภาษีซื้อตามส่วนของรายได้ (1) หลักทั่วไป “รายได้ของปีใด ให้ใช้เป็นฐานในการเฉลี่ยภาษีซื้อของปีนั้นๆ” รายได้ที่ใช้เป็นฐานในการเฉลี่ยภาษีซื้อ ให้ใช้รายได้ตามแบบ ภ.พ.30 ข้อยกเว้น เพื่อให้เกิดความสะดวก 1. ในกรณีประกอบกิจการต่อเนื่อง ให้ใช้รายได้ของปีก่อนเป็นฐานในการเฉลี่ยภาษีซื้อของปีปัจจุบัน โดยเมื่อสิ้นปีจะเลือกปรับปรุงการเฉลี่ยภาษีซื้อให้เป็นไปตามฐานของรายได้ของปีนั้นๆ ก็ได้ แต่เมื่อได้เลือกปฏิบัติอย่างใดแล้วให้ถือปฏิบัติเช่นนั้นตลอดไป เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากร 2. ในกรณีที่รายได้ VAT หรือรายได้ Non VAT ของปีก่อนมีสัดส่วนไม่น้อยกว่า 90% ของรายได้รวม ในปีปัจจุบันไม่ต้องเฉลี่ยภาษีซื้อ และเมื่อสิ้นปี ไม่ต้องปรับปรุงการเฉลี่ยภาษีซื้อให้เป็นไปตามฐานของรายได้ของปีนั้นๆ อีกแต่อย่างใด
การเฉลี่ยภาษีซื้อตามส่วนของรายได้ (2) ข้อยกเว้น เพื่อให้เกิดความสะดวก (ต่อ) 3. สำหรับปีที่เริ่มมีรายได้ VAT และ Non VAT เป็นปีแรก (ได้แก่ปีที่มีรายได้ทั้งสองประเภทไม่น้อยกว่า 6 เดือนภาษี) ให้ดำเนินการดังนี้ (1) ประมาณการรายได้ VAT และ Non VAT ของปีที่เริ่มมีรายได้ แล้วใช้เป็นฐานในการเฉลี่ยภาษีซื้อไปจนกว่าจะสิ้นปีที่เริ่มมีรายได้ ไม่ว่าจะใช้ระยะเวลานานเท่าใดก็ตาม (2) เมื่อสิ้นปีที่เริ่มมีรายได้ ให้ปรับปรุงการเฉลี่ยภาษีซื้อให้เป็นไปตามฐานของรายได้ของปีที่เริ่มมีรายได้นั้น ภายในเดือนแรกของปีถัดจากปีที่เริ่มมีรายได้ ซึ่งอาจเป็นผลให้ใช้ภาษีซื้อเกินไป หรือขาดจำนวน แล้วแต่กรณี จากนั้นให้ยื่นแบบ ภ.พ.30.2 ภายใน ว้นที่ 15 ของเดือนถัดจากเดือนที่ทำการปรับปรุงการเฉลี่ยภาษีซื้อตามส่วนของรายได้ โดยไม่ต้องเสียเบี้ยปรับ และเงินเพิ่มใดๆ
การเฉลี่ยภาษีซื้อตามส่วนของรายได้ (3) รายได้ที่ใช้เป็นฐานในการเฉลี่ยภาษีซื้อตามส่วนของรายได้ ให้ใช้รายได้ตามแบบ ภ.พ.30 ตามรอบระยะเวลาบัญชี หรือปีภาษี โดยแบ่งออกเป็นสามกองดังนี้ 1. รายได้ VAT ทั้งในส่วนของรายได้ที่ต้องเสีย VAT 7% และ 0% 2. รายได้ Non VAT ได้แก่ รายได้ที่ได้รับยกเว้น VAT รายรับที่อยู่ในข่ายที่ต้องเสีย SBT และหรือยกเว้น SBT 3. รายได้ต่อไปนี้ไม่ต้องนำไปรวมเป็นฐานในการเฉลี่ยภาษีซื้อ (1) รายได้ที่เกิดขึ้นจากกรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนนำเงินไปหาประโยชน์โดยการฝากธนาคาร ซื้อพันธบัตรหรือหลักทรัพย์ หรือซื้อตั๋วเงินของสถาบันการเงินอื่น แต่ทั้งนี้ไม่ใช้บังคับสำหรับการประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน หลักทรัพย์ และเครดิตฟองซิเอร์ และกิจการประกันชีวิตตามมาตรา 91/2(1)(2) และ (3) (2) รายได้ดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นจากกรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนมีการกู้ยืมเงินกันเองในระหว่างบริษัทในเครือเดียวกัน
การเฉลี่ยภาษีซื้อตามส่วนของรายได้ (4) 3. รายได้ต่อไปนี้ไม่ต้องนำไปรวมเป็นฐานในการเฉลี่ยภาษีซื้อ (ต่อ) (3) รายได้ดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นจากเงินกองทุนสะสมพนักงานหรือทุนอื่นใดเพื่อพนักงาน และผู้ประกอบการที่เป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้นำเงินกองทุนนี้ออกให้พนักงานที่เป็นสมาชิกกู้ยืมเป็นสวัสดิการ (4) รายได้ที่ไม่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 77/2 (ทั้งนี้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2546 เป็นต้นมา)
การเฉลี่ยภาษีซื้อตามพื้นที่การใช้อาคาร ได้รับอนุมัติก่อสร้าง หรือเริ่มก่อสร้างอาคาร อาคารเสร็จสมบูรณ์ เริ่มใช้อาคาร 30 วัน 30 วัน 30 วัน ภ.พ.05.1 ภ.พ.05.2 ภ.พ.05.3 ประมาณการการใช้ พื้นที่อาคารเป็น ตร.ม. ต่อชั้น แจ้งวันที่อาคาร เสร็จสมบูรณ์ แจ้งการใช้พื้นที่อาคารเป็น ตร.ม.ต่อชั้นว่า เป็นไปตาม ประมาณการหรือไม่ กรณีไม่เป็นไปตามประมาณ การให้ยื่นแบบ ภพ 30.3 เพื่อปรับปรุงการเฉลี่ยภาษีซื้อ เป็นรายเดือนภาษี
Building 3 ปี VAT 100% สิ้นเดือนภาษีที่ อาคารเสร็จ 1.ขาย สมบูรณ์ 2.นำออกให้เช่า 3.ให้ผู้อื่นมาใช้ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ภาษีซื้อสำหรับอาคารเป็นภาษีซื้อ ต้องห้ามทั้งหมด ให้นำมาปรับปรุง เป็นต้นทุนอาคาร
หน้าที่ของผู้ประกอบการในระบบ VAT ภ.พ.01 1. หน้าที่เกี่ยวกับทะเบียน VAT ภ.พ.20 ภ.พ.09 ภ.พ.04 ม.77/1(8)(9) ขายสินค้าหรือการให้บริการ ม.77/1(10) ม.78 ม.78/1 และ ม.78/3 ความรับผิดในการเสีย VAT Symmetry 2. หน้าที่เกี่ยวกับใบกำกับภาษี Debit Note, Credit Note Input Books Stock Books 3. หน้าที่เกี่ยวกับการจัดทำรายงาน VAT Output Books 4. หน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณ VAT Monthly ภ.พ.30 5. หน้าที่ยื่นแบบและชำระ VAT ภ.พ.36 6. หน้าที่ให้ความร่วมมือตามกฎหมาย VAT
สิทธิของผู้ประกอบการจดทะเบียน 1. สิทธิที่จะออกใบกำกับภาษีสำหรับการประกอบกิจการขายสินค้า ให้บริการตามมาตรา 86 2. สิทธิที่จะเรียกเก็บภาษีขายตามมาตรา 82/4 3. สิทธิที่จะนำภาษีซื้อไปหักออกจากภาษขายในการคำนวณ VAT ตามมาตรา 82/3 4. สิทธิที่ขอคืนภาษีซื้อ กรณีภาษีซื้อมากกว่าภาษีขาย ตาม มาตรา 84 5. สิทธิที่จะเสียภาษีมูลค่าเพิ่มอัตรา 0% ตามมาตรา 80/1
ใบกำกับภาษี ใบกำกับภาษี คือ หลักฐานสำคัญในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนตลอดจนบุคคลอื่น ตามที่กฎหมายกำหนดมีหน้าที่ต้องจัดทำและส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ ในทันทีทุกครั้งที่ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มจากการขายสินค้าหรือให้บริการเกิดขึ้น เพื่อแสดงว่าผู้ประกอบการจดทะเบียนดังกล่าว ได้ขายสินค้าหรือให้บริการชนิด หรือประเภทใดให้แก่บุคคลใด เมื่อใด มีจำนวนปริมาณและคิดเป็นมูลค่าเท่าใด และมีจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มหรือ ภาษีขาย ที่ได้เรียกเก็บหรือพึงเรียกเก็บเป็นจำนวนเท่าใด
ใบกำกับภาษี และสำหรับผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เป็นผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับ บริการ และผู้นำเข้า ใบกำกับภาษีเป็นหลักฐานที่พิสูจน์ว่า ผู้ประกอบการได้จ่ายหรือพึงต้องจ่ายภาษีมูลค่าเพิ่มหรือ ภาษีซื้อ ไปเป็นจำนวนเท่าใด ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชำระในแต่ละเดือนภาษี และการขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มในกรณีที่มียอดภาษีซื้อมากกว่าภาษีขาย
ผู้มีสิทธิออกใบกำกับภาษี ผู้ประกอบการจดทะเบียน ผู้ประกอบการจดทะเบียนเป็นการชั่วคราว ตัวแทนในราชอาณาจักรของผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักร ตัวแทนในราชอาณาจักรของผู้ประกอบการ ที่อยู่ในราชอาณาจักรที่รับฝากขายสินค้า ผู้ขายทอดตลาดที่ไม่ใช่ส่วนราชการ ซึ่งได้ขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ประกอบการจดทะเบียน ประกอบการจดทะเบียนที่เลิกประกอบกิจการแล้ว แต่ได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากร ให้ออกใบกำกับภาษีเป็นการชั่วคราวจนกว่าจะหยุดประกอบกิจการ
ชนิดของใบกำกับภาษี ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปแบบ (มาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร) ใบกำกับภาษีอย่างย่อ (มาตรา 86/6 แห่งประมวลรัษฎากร) ใบกำกับภาษีอย่างย่อที่ออกโดยเครื่องบันทึกการเก็บเงิน (มาตรา 86/6 วรรคห้า แห่งประมวลรัษฎากร) ใบเพิ่มหนี้ (มาตรา 86/9 แห่งประมวลรัษฎากร) ใบลดหนี้ (มาตรา 86/10 แห่งประมวลรัษฎากร) ใบเสร็จรับเงินค่าภาษีมูลค่าเพิ่มที่ส่วนราชการเป็นผู้ออก (มาตรา 86/14 แห่งประมวลรัษฎากร)
ความแตกต่างของใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปกับใบกำกับภาษีอย่างย่อ รายการ แบบเต็มรูป อย่างย่อ 1. คำว่า “ใบกำกับ ภาษี” มีรายการครบถ้วนตามมาตรา 86/4 มีคำว่า ”อย่างย่อ” 2. ชื่อและที่อยู่ของผู้ ออก ต้องแสดงให้เห็นชัดแจ้ง จะแสดงเพียงชื่อสถานการค้าหรือเครื่องหมายการค้าก็ได้ 3. ชื่อและที่อยู่ของผู้ซื้อ หรือผู้รับบริการ จะแสดงหรือไม่ก็ได้ 4. รายละเอียดเกี่ยวกับ สินค้าหรือบริการ ต้องแสดงให้เห็นชัดแจ้ง ได้แก่ ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ มูลค่า กรณีออกด้วยเครื่องบันทึกการเก็บเงินจะใช้รหัสแทนก็ได้ 5. ส่วนลดการค้า 6. จำนวน VAT จะแสดงราคารวม VAT โดยมีข้อความระบุไว้
กรณีที่ไม่ต้องออกใบกำกับภาษี กรณีจำหน่าย จ่าย โอนสินค้าโดยไม่มีค่าตอบแทน และไม่เรียกเก็บ VAT จากผู้ซื้อสินค้า กรณีนำสินค้าไปใช้ในกิจการที่ไม่ต้องเสีย VAT กรณีนำรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ไปใช้เป็นทรัพย์สิน กรณีนำสินค้าที่มีไว้เพื่อขายไปใช้กับรถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน กรณีมีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ กรณีมีสินค้าคงเหลือ และหรือทรัพย์สินทีมีไว้ในการประกอบกิจการที่ต้องเสีย VAT หรือทั้งกรณีที่ต้องเสีย VAT และที่ไม่ต้องเสีย VAT ณ วันเลิกประกอบกิจการหรือ ณ วันที่ได้รับคำสั่งถอนทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
กรณีที่ไม่ต้องออกใบกำกับภาษี กรณีให้บริการไม่มีค่าตอบแทน และไม่เรียกเก็บ VAT จากผู้รับบริการ กรณีนำบริการไปใช้ในกิจการที่ไม่ต้องเสีย VAT กรณีนำบริการ และหรือนำสินค้าไปใช้เพื่อการรับรอง หรือเพื่อการอื่นที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน กรณีนำบริการหรือสินค้าที่มีไว้เพื่อขายไปใช้กับรถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน กรณีการให้บริการที่ไม่นับรวมเป็นมูลค่าของฐานภาษี
กำหนดเวลาในการออกใบกำกับภาษี ผู้ประกอบการจดทะเบียน หรือผู้ที่มีสิทธิออกใบกำกับภาษีแทนผู้ประกอบการจดทะเบียน ต้องจัดทำใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร และสำเนาใบกำกับภาษี สำหรับการขายสินค้าหรือการให้บริการทุกครั้ง โดยต้องจัดทำทันทีที่ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้น พร้อมทั้งส่งมอบใบกำกับภาษีนั้นให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ สำหรับสำเนาใบกำกับภาษีผู้ประกอบการจดทะเบียนต้องเก็บรักษาไว้ ณ สถานประกอบการที่ออกใบกำกับภาษี เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี นับแต่วันที่ได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษี (ภ.พ.30) หรือวันทำรายงานภาษีขาย แล้วแต่กรณี (มาตรา 86 แห่งประมวลรัษฎากร)
รับชำระราคาด้วยเงินสด ก่อนส่งมอบสินค้า Y ออกใบกำกับภาษี การออกใบกำกับภาษี สำหรับการขายสินค้า รับชำระราคาด้วยเงินสด ก่อนส่งมอบสินค้า Y ออกใบกำกับภาษี เมื่อได้รับชำระเงินสด N รับชำระราคาด้วยเช็ค ก่อนส่งมอบสินค้า Y ออกใบกำกับภาษี ตามวันที่ลงในเช็ค N ส่งมอบสินค้าก่อน ได้รับชำระราคา Y ออกใบกำกับภาษี เมื่อส่งมอบสินค้า
การออกใบกำกับภาษี สำหรับการให้บริการ ดู ป.51/2537 กรณีให้บริการโดย Y ไม่มีค่าบริการ Y ออกใบกำกับภาษี เมื่อมีการใช้บริการ N รับชำระราคา เป็นเงินสด Y ออกใบกำกับภาษี เมื่อได้รับชำระราคา N รับชำระราคาด้วยเช็คทั้งกรณี ลงวันที่ล่วงพ้นมาแล้ว และลงวันที่ล่วงหน้า Y ออกใบกำกับภาษี ตามวันที่ลงในเช็ค N รับชำระราคาด้วยเช็คกรณี ลงวั้นที่ล่วงหน้าที่ออกโดยส่วนราชการ หรือมีหลักฐานการส่งมอบเช็ค Y ออกใบกำกับภาษี เมื่อได้รับเช็ค
ตัวอย่างหนังสือรับรองของผู้ส่งมอบเช็ค บริษัท ส. พิทักษ์พัฒนา จำกัด ในวันนี้ได้ส่งมอบเช็คธนาคารกรุงไทย จำกัด เลขที่ 01234567 ลงวันที่ 1 กรกฎาคม 25xx ให้แก่บริษัท ก. เทรดดิ้ง จำกัด ลงชื่อ กมลา พิทักษ์พัฒนา 15 กรกฎาคม 25xx
ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปด้านผู้ออก มิให้นำ “ใบกำกับภาษี” มาใช้ออกสำหรับรายการการขายสินค้าหรือการให้บริการที่ได้รับยกเว้น VAT เว้นแต่มีรายการสินค้าหรือการให้บริการที่ต้องเสีย VAT รวมอยู่ด้วย รายการอื่นใดในใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป ควรจัดทำให้ถูกต้องสมบูรณ์ เพื่อป้องกันการขอให้ยกเลิกแล้วออกใหม่ อันจะทำให้สิ้นเปลืองทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ต้องไม่ออกใบกำกับภาษีสำหรับรายการการขายสินค้าหรือการให้บริการที่ได้ออกใบกำกับภาษีไปแล้ว เพราะถือเป็นการออกใบกำกับภาษีโดยไม่มีสิทธิที่จะออกตามกฎหมาย กรณีมีความแตกต่างเนื่องจากราคาและปริมาณ ให้ออกใบเพิ่มหนี้หรือใบลดหนี้ แล้วแต่กรณี การออกใบแทนใบกำกับภาษีเป็นหน้าที่ตามกฎหมาย (ม.86/12) ที่มีบทลงโทษ
ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปด้านผู้ออก จัดพิมพ์ใบกำกับภาษีโดยกำหนดให้รายการ “ใบกำกับภาษี” “ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร” และ “เอกสารออกเป็นชุด” เป็นรายการที่ต้องตีพิมพ์ขึ้น เพื่อก่อให้เกิดความสะดวกในการออกใบกำกับภาษีสำหรับรายการอื่นด้วยวิธีใดๆ รายการ “ชื่อ” ทั้งกรณีผู้ออกและผู้รับใบกำกับภาษี ให้ระบุชื่อผู้ประกอบ หรือชื่อสถานประกอบการ หรือชื่อการค้า (ชื่อย่อ)ตามที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ ในบางกรณีอาจย่อคำนำหน้าชื่อผู้ประกอบการได้บ้างตามสมควร รายการ “ที่อยู่” ทั้งกรณีผู้ออกและผู้รับใบกำกับภาษี ให้ระบุชื่อตามที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ กรณีระบุที่อยู่ไม่ครบถ้วนตามที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่รายการที่อยู่ที่ระบุไว้ถูกต้อง และสามารถบอกตำแหน่งที่ตั้งที่ชัดเจนได้ ถือว่าระบุครบถ้วนแล้ว
ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป ผู้ประกอบการจดทะเบียนสามารถใช้คำย่อแทนได้ (ข้อ 8 วรรคสอง ของคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.86/2542) บริษัทจำกัด ใช้คำย่อว่า บ. ... จก. หรือ บจ. ... บริษัท…จำกัด (มหาชน) ใช้คำย่อว่า บมจ. ... ห้างหุ้นส่วนจำกัด ใช้คำย่อว่า หจก. ... ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ใช้คำย่อว่า หสน. ... กรณีระบุชื่อผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ โดยตัวสะกด สระ การันต์ วรรณยุกต์ ผิดพลาด แต่เป็นที่เห็นได้อย่างชัดเจน ซึ่งไม่ทำให้เกิดความเข้าใจผิดว่าเป็นผู้ประกอบการรายอื่น ให้ถือว่าได้ระบุชื่อครบถ้วนแล้ว ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เป็นผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการได้รับใบกำกับภาษี ที่ระบุชื่อของตนเองผิดพลาดเล็กน้อยในส่วนที่ไม่เป็นสาระสำคัญ หากพิสูจน์จากเอกสารต่างๆ แล้วเห็นได้ว่าเป็นบุคคลเดียวกันก็อนุโลมให้หักเป็นภาษีซื้อได้
ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียน ประกอบกิจการขายสินค้าบุหรี่ หรือยาสูบที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ ซึ่งเป็นสินค้าที่มีการกำหนดราคาขายปลีก โดยคณะกรรมการกลางกำหนดราคาสินค้า และป้องกันการผูกขาดให้ออกใบกำกับภาษีเช่นเดียวกับใบกำกับภาษีโดยทั่วไป เว้นแต่ค่าภาษีมูลค่าเพิ่มให้คำนวณจากฐานราคาขายปลีกดังกล่าว ใบกำกับภาษีสำหรับการส่งออกตามมาตรา 86/5(1) แห่งประมวลรัษฎากร อาจมีรายการเช่นเดียวกับใบกำกับสินค้าซึ่งผู้ส่งออกได้ออกเป็นปกติตามประเพณีทางการค้าระหว่างประเทศ
Substitution of Tax Invoice Completion Tax Invoice: use to be Credit Input Tax Damage, Lost (มาตรา 86/12) Request to Supplier to issue Substitution of Tax Invoice Supplier Copy Tax Invoice Write down these Descriptions 1. Substitution No. 2. Date 3. Causes 4. Signature of Issuer Take Photo copy At back At front / back
ใบแทนใบกำกับภาษี รายการ รายละเอียด ข้อกฎหมาย มาตรา 86/12 มูลเหตุ ใบกำกับภาษีชำรุดในส่วนที่เป็นสาระสำคัญ/ สูญหาย และผู้ซื้อสินค้าหรือรับบริการต้องการใบแทนฯเพื่อนำไปใช้แทนใบกำกับภาษีฉบับเดิม การปฏิบัติด้านผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ 1. ร้องขอผู้ออกใบกำกับภาษีให้ออกใบแทนใบกำกับภาษี 2. เมื่อได้รับใบแทนใบกำกับภาษี ให้นำมาแทนที่หรือแนบกับใบกำกับภาษีฉบับเดิม แล้วแต่กรณี การปฏิบัติด้านผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการ 1. เมื่อได้รับการร้องขอให้ออกใบแทนใบกำกับภาษี ให้นำสำเนาใบกำกับภาษีมาถ่ายเอกสาร 2. บันทึกข้อความต่อไปนี้ไว้ที่ด้านหน้าหรือด้านหลังของใบกำกับภาษีฉบับถ่ายเอกสาร - ใบแทนออกให้ครั้งที่ ... - วันที่ที่ออกใบแทน - คำอธิบายสั้นๆ ถึงสาเหตุที่ออกใบแทน - ลงลายมือชื่อผู้ออกใบแทน
ใบแทนใบกำกับภาษี รายการ รายละเอียด การปฏิบัติด้านผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการ(ต่อ) 3. บันทึกข้อความทั้งสี่รายการตามข้อ 2 ไว้ที่ด้านหลังของสำเนาใบกำกั้บภาษี 4. หมายเหตุการออกใบแทนใบกำกับภาษีในรายงานภาษีขายว่า ได้ออกใบแทนใบกำกับภาษีครั้งที่เท่าใด สำหรับใบกำกับภาษีเลขที่/เล่มที่ใด ลงวันที่ใด ให้แก่ผู้ใด 5. ส่งมอบใบแทนใบกำกับภาษีให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการผู้ร้องขอให้ออกใบแทน
Cancelled & Reissue Tax Invoice ไม่มีข้อบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องการยกเลิกแล้วออกใบกำกับภาษีฉบับใหม่แทนฉบับเดิม หากแต่เป็นไปตามแนวทางปฏิบัติตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.86/2542 มูลเหตุที่ต้องมีการยกเลิกแล้วออกใบกำกับภาษีฉบับใหม่แทนฉบับเดิม ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปฉบับเดิมมีข้อความไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ตามมาตรา 86/4 ซึ่งถือเป็นภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/3(2) (Uncompleted Tax Invoice) ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปฉบับเดิมมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการ ซึ่งถือเป็นภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/3(2) (Correction Tax Invoice) ต้องการเปลี่ยนใบกำกับภาษีอย่างย่อ (Tax Invoice (ABB.)) ให้เป็นแบบเต็มรูป
การยกเลิกแล้วออกใบกำกับภาษีฉบับใหม่แทนฉบับเดิม กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนได้รับใบกำกับภาษีที่มีข้อความไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ในส่วนที่เป็นสาระสำคัญตามที่กฎหมายกำหนด ถือเป็นภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/5(3) ให้ร้องขอให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่จัดทำใบกำกับภาษียกเลิกใบกำกับภาษีฉบับเดิมและจัดทำใบกำกับภาษีฉบับใหม่ที่ถูกต้อง กรณีเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบว่า ผู้ประกอบการจดทะเบียนได้นำใบกำกับภาษีต้องห้ามตามมาตรา 82/5(3) ไปถือเป็นภาษีซื้อแล้ว ถ้าเจ้าพนักงานประเมินพิจารณาเห็นว่ามีเหตุอันสมควรให้ยกเลิกใบกำกับภาษีฉบับเดิม และนำใบกำกับภาษีฉบับใหม่ที่ถูกต้องมาให้ตรวจสอบภายในระยะเวลาที่กำหนด (ไม่เกิน 30 วัน) ผู้ประกอบการจดทะเบียนมีสิทธินำใบกำกับภาษีฉบับใหม่ที่ถูกต้องไปถือเป็นภาษีซื้อในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มได้ (ข้อ 24 ของคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.86/2542)
การยกเลิกแล้วออกใบกำกับภาษีฉบับใหม่ รายการ รายละเอียด ข้อกฎหมาย ไม่มีบทบัญญัติของกฎหมาย หากแต่เป็นแนวทางปฏิบัติตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 86/2542 มูลเหตุ ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปฉบับเดิมมีข้อความไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ตามมาตรา 86/4 ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปฉบับเดิมมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายการ ต้องการเปลี่ยนใบกำกับภาษีอย่างย่อให้เป็นแบบเต็มรูป การปฏิบัติด้านผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ 1. ร้องขอผู้ออกใบกำกับภาษีให้ยกเลิกแล้วออกใบกำกับภาษีฉบับใหม่แทนฉบับเดิม 2. นำใบกำกับภาษีฉบับที่ต้องการให้มีการยกเลิกมาถ่ายเอกสารแล้วส่งต้นฉบับคืนให้แก่ผู้ออก 3. เมื่อได้รับใบกำกับภาษีฉบับใหม่ที่ถูกต้อง ให้นำมาแทนที่ โดยแนบกับสำเนาใบกำกับภาษีฉบับเดิม
การยกเลิกแล้วออกใบกำกับภาษีฉบับใหม่ รายการ รายละเอียด การปฏิบัติด้านผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการ(ต่อ) 1. เมื่อถูกร้องขอให้ยกเลิกแล้วออกใบกำกับภาษีฉบับใหม่แทนฉบับเดิม ให้เรียกคืนใบกำกับภาษีฉบับเดิม 2. ยกเลิกใบกำกับภาษีเฉพาะในส่วนที่เป็นต้นฉบับที่มีความประสงค์จะออกฉบับใหม่แทนฉบับเดิมเท่านั้น แล้วนำไปเก็บรวมไว้กับสำเนาใบกำกับภาษีฉบับเดิมนั้น 3. ออกใบกำกับภาษีฉบับใหม่ที่ถูกต้องโดยมีรายการที่แก้ไขเพิ่มเติมใหม่ดังนี้ - รายการใหม่ที่ถูกแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้องสมบูรณ์ - เลขที่/เล่มที่ใหม่ (แต่วัน เดือน ปี เดิม) - ข้อความ “เป็นการยกเลิกและออกใบกำกับภาษีฉบับใหม่แทนฉบับ เดิมเลขที่... เล่มที่..." 4. หมายเหตุการยกเลิกแล้วออกใบกำกับภาษีฯ ในรายงานภาษีขายว่า ได้ยกเลิกใบกำกับภาษีเลขที่/เล่มที่ใด ลงวันที่ใด แล้วออกฉบับใหม่เลขที/เล่มที่ใด ให้แก่ผู้ใด ไปเมื่อใด 5. ส่งมอบใบกำกับภาษีที่ถูกต้องให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการผู้ร้องขอ
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ ให้ใช้สำหรับผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ประกอบกิจการขายสินค้าในลักษณะขายปลีก หรือให้บริการในลักษณะบริการรายย่อยแก่บุคคลจำนวนมาก เป็นการขายสินค้าที่ผู้ขายทราบโดยชัดแจ้งว่า เป็นการขายให้แก่ผู้บริโภคโดยตรงและได้ขายในปริมาณซึ่งตามปกติวิสัยของผู้บริโภคนั้นจะนำสินค้าไปบริโภคหรือใช้สอยโดยมิได้มีวัตถุประสงค์ที่จะนำไปขายต่อไป การให้บริการในลักษณะบริการรายย่อยแก่บุคคลจำนวนมาก เช่น การให้บริการของกิจการภัตตาคาร กิจการโรงแรม กิจการซ่อมแซมทุกชนิด กิจการโรงภาพยนตร์ กิจการสถานบริการน้ำมัน เป็นต้น กิจการภัตตาคาร ได้แก่ กิจการขายอาหารหรือเครื่องดื่มไม่ว่าชนิดใดๆ รวมทั้งกิจการรับจ้างปรุงอาหารหรือเครื่องดื่ม ทั้งนี้ ไม่ว่าในหรือจากสถานที่ ซึ่งจัดไว้ให้ประชาชนเข้าไปบริโภคได้
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีอย่างย่อ นำไปถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรหรือขาดทุนสุทธิเพื่อการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามมาตรา 65 ตรี (6 ทวิ) หากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการเรียกร้องใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปแทนใบกำกับภาษีอย่างย่อ ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เป็นผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการมีหน้าที่ต้องออกให้โดยทันที (ประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 32)) การออกใบกำกับภาษีอย่างย่อ ไม่ว่าจะออกโดยการเขียนด้วยหมึก หรือจัดทำขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ หรือพิมพ์ดีด หรือกระทำให้ปรากฏด้วยวิธีการอื่นในลักษณะทำนองเดียวกันก็ได้ ไม่ต้องได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรแต่อย่างใด
ใบกำกับภาษีอย่างย่อ ในกรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งขายสินค้าหรือให้บริการต่อเนื่องตลอด 24 ชม. โดยไม่มีกำหนดระยะเวลาสิ้นวันทำการที่ชัดเจน เช่น การขายสินค้าของร้านค้าสะดวกซื้อตลอด 24 ชม. และได้รับอนุมัติให้ออกใบกำกับภาษีอย่างย่อโดยเครื่องบันทึกการเก็บเงิน โดยทั่วไปผู้ประกอบการจดทะเบียนต้องถือเวลา 24.00 น. เป็นเวลาสิ้นวันทำการเพื่อการออกใบกำกับภาษีและการจัดทำรายงานต่างๆ ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการจดทะเบียนจดทะเบียนจะถือช่วงเวลาใดระหว่าง 17.00 น. จนถึง 8.00 น. เป็นช่วงเวลาสิ้นวันทำการก็ได้ และหากได้เลือกปฏิบัติเป็นอย่างใดแล้ว ให้ถือปฏิบัติเป็นอย่างเดียวกันตลอดไป เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรให้เปลี่ยนแปลงได้ (คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.45/2537 ใช้บังคับตั้งแต่ 1 มกราคม 2535)
ใบเพิ่มหนี้ มูลเหตุที่กำหนดให้ออกใบเพิ่มหนี้ มีการเพิ่มราคาสินค้าที่ขาย เนื่องจากสินค้าเกินกว่าจำนวนที่ตกลงซื้อขายกัน มีการคำนวณราคาสินค้าผิดพลาดต่ำกว่าที่เป็นจริง มีการเพิ่มราคาสินค้า เนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด มีการเพิ่มราคาค่าบริการเนื่องจากให้บริการเกินกว่าข้อกำหนเดที่ตกลงกัน มีการคำนวณราคาค่าบริการผิดพลาดต่ำกว่าความเป็นจริง มีการเพิ่มราคาค่าบริการ เนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด
ใบลดหนี้ มูลเหตุที่กำหนดให้ออกใบลดหนี้ มีการลดราคาสินค้าที่ขายเนื่องจากสินค้าผิดข้อกำหนดที่ตกลงกัน สินค้าชำรุดเสียหาย หรือขาดจำนวน คำนวณราคาสินค้าผิดพลาดสูงกว่าที่เป็นจริงหรือเนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด มีการลดราคาค่าบริการเนื่องจากให้บริการผิดข้อกำหนดที่ตกลงกัน บริการขาดจำนวน คำนวณราคาค่าบริการผิดพลาดสูงกว่าที่เป็นจริง หรือเนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด ได้รับสินค้าที่ขายกลับคืนมาเนื่องจากสินค้าชำรุดบกพร่อง ไม่ตรงตามตัวอย่าง ไม่ตรงตามคำพรรณนา หรือเนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด ผู้ประกอบการจดทะเบียนมีหน้าที่ต้องจ่ายเงินชดเชยหรือเงินอื่นในลักษณะทำนองเดียวกันให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการตามข้อผูกพันในกฎหมาย
ใบลดหนี้ มูลเหตุที่กำหนดให้ออกใบลดหนี้ (ต่อ) ผู้ประกอบการจดทะเบียนได้มีการจ่ายคืนเงินจ่ายล่วงหน้าเงินประกัน เงินมัดจำ เงินจอง หรือเงินอื่นที่เรียกเก็บในลักษณะทำนองเดียวกันให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการตามข้อตกลงทางการค้า มีการคืนสินค้าหรือแลกเปลี่ยนสินค้าตามข้อตกลงทางการค้าระหว่างผู้ประกอบการจดทะเบียนด้วยกัน มีการคืนสินค้าหรือแลกเปลี่ยนสินค้าตามข้อตกลงทางการค้าระหว่างผู้ประกอบการจดทะเบียนและผู้ซื้อสินค้า ทั้งนี้ เฉพาะที่กระทำภายในเวลาอันสมควร มีการบอกเลิกสัญญาบริการเนื่องจากการให้บริการบกพร่องหรือให้บริการผิดข้อกำหนดที่ตกลงกัน มีการบอกเลิกสัญญาบริการเนื่องจากไม่มีการให้บริการตามสัญญา
รูปแบบใบเพิ่มหนี้และใบลดหนี้ ใบเพิ่มหนี้และใบลดหนี้ต้องมีรายการต่อไปนี้ คำว่า "ใบเพิ่มหนี้" หรือ "ใบลดหนี้" ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออกใบเพิ่มหนี้หรือใบลดหนี้ และในกรณีที่ตัวแทนเป็นผู้ออกใบเพิ่มหนี้หรือใบลดหนี้ในนามของผู้ประกอบการจดทะเบียนให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของตัวแทนนั้นด้วย ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ วัน เดือน ปี ที่ออกใบเพิ่มหนี้หรือใบลดหนี้ หมายเลขลำดับของใบกำกับภาษีเดิม รวมทั้งหมายเลขลำดับของเล่ม (ถ้ามี) มูลค่ารวมทั้งหมดของสินค้าหรือบริการที่แสดงไว้ในใบกำกับภาษีดังกล่าว มูลค่ารวมทั้งหมดที่ถูกต้องของสินค้าหรือบริการ ผลต่างของจำนวนมูลค่ารวมทั้งหมดทั้งสองและจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บเพิ่มสำหรับส่วนต่างนั้นในกรณีของใบเพิ่มหนี้ และจำนวนภาษีมูลค่า เพิ่มที่ใช้คืนสำหรับส่วนต่างนั้นในกรณีของใบลดหนี้ คำอธิบายสั้นๆ ถึงสาเหตุในการออกใบเพิ่มหนี้หรือใบลดหนี้
รูปแบบใบเพิ่มหนี้และใบลดหนี้ จะจัดทำขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ประทับด้วยตรายาง เขียนด้วยหมึก พิมพ์ดีด หรือทำให้ปรากฏขึ้นด้วยวิธีการอื่นใดในลักษณะทำนองเดียวกันก็ได้ สาเหตุในการออกใบเพิ่มหนี้หรือใบลดหนี้ ให้แสดงเฉพาะสาเหตุและรายการสินค้าหรือบริการที่คลาดเคลื่อนเท่านั้น สามารถออกใบเพิ่มหนี้ 1 ฉบับ หรือใบลดหนี้ 1 ฉบับ โดยอ้างถึงใบกำกับภาษีเดิมมากกว่า 1 ฉบับก็ได้ และรายการหมายเลขลำดับของใบกำกับภาษีเดิม รวมทั้งหมายเลขลำดับของเล่ม (ถ้ามี) มูลค่ารวมทั้งหมดของสินค้าหรือบริการ หรือ คำอธิบายสั้นๆ ถึงสาเหตุในการออกใบเพิ่มหนี้หรือใบลดหนี้ สามารถใช้เอกสารแนบใบเพิ่มหนี้หรือใบลดหนี้อ้างถึงใบกำกับภาษีเป็นรายใบกำกับภาษีก็ได้
รายงานในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT Book รายงานภาษีขาย (output Book) รายงานภาษีซื้อ (Input Book) รายงานสินค้าและวัตถุดิบ (Stock Book) โดยทั่วไปใช้ระบบ Perpetual บันทึกการเคลื่อนไหวของสินค้าทุกรายการ รายละเอียดสินค้าคงเหลือ ณ วันที่ 30 มิถุนายน และ 31 ธันวาคม สำหรับผู้ประกอบการจดทะเบียนที่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป็นแบบ Periodic ตรวจนับสินค้าคงเหลือเพียง ณ วันใดวันหนึ่ง
รายงานในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ผู้ประกอบการ VAT ผู้ประกอบการจดทะเบียน ไม่ว่าประกอบกิจการใดๆ Y - รายงานภาษีขาย - รายงานภาษีซื้อ ภายใน 3 วันทำการ N ประกอบกิจการขายสินค้า Y - รายงานสินค้าและวัตถุดิบ* - รายงานจ่ายอะไหล่โดยไม่คิด มูลค่าสำหรับสินค้าที่มีประกัน N ประกอบกิจการให้บริการไม่ต้องจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ * กรณีเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนที่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้จัดทำรายละเอียดสินค้าคงเหลือ ณ วันที่ 30 มิ.ย. และ 31 ธ.ค. แทน
การลงรายการในรายงานภาษีขาย การลงรายการสำหรับใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป ให้ลงรายการตามมูลค่าสินค้าหรือบริการและจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่ได้รับหรือพึงได้รับซึ่งเกิดจากใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/4 หรือใบกำกับตามมาตรา 86/5 เฉพาะที่มีลักษณะเป็นใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป เป็นรายใบกำกับภาษี กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนที่มีการจัดทำใบกำกับภาษีที่มีลักษณะเป็นใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป ในแต่วันตั้งแต่ 100 ฉบับขึ้นไป ของแต่ละสถานประกอบการ และได้จัดให้มีรายงานสรุปการขายประจำวัน ผู้ประกอบการจดทะเบียนดังกล่าวจะลงรายการเฉพาะมูลค่าสินค้า หรือบริการและจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มทั้งหมดต่อวันที่ได้รับหรือพึงได้รับตามรายงานสรุปการขายประจำวัน โดยไม่ต้องลงเป็นรายใบกำกับภาษีก็ได้
การลงรายการในรายงานภาษีขาย การลงรายการสำหรับใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป (ต่อ) ผู้ประกอบการจดทะเบียน ต้องจัดทำรายงานสรุปการขายประจำวัน โดยมีรายการและข้อความอย่างน้อยดังต่อไปนี้ และสามารถจัดทำแยกออกเป็นแต่ละแผนกของสินค้าหรือบริการ หรือแยกเป็นแต่ละประเภท ชนิด ขนาด หรือในลักษณะทำนองเดียวกันของสินค้าหรือบริการก็ได้ (1) วัน เดือน ปี (2) เลขที่ใบกำกับภาษี เล่มที่ / เครื่องที่ (ถ้ามี) (3) ชื่อผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ (4) มูลค่าสินค้าหรือบริการ และจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่คำนวณจากมูลค่าสินค้าหรือบริการ โดยให้แยกออกจากมูลค่าสินค้าและหรือบริการให้ชัดแจ้ง กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนมีคามประสงค์จัดทำรายงานสรุปการขายประจำวัน โดยมีรายการและข้อความแตกต่างจากที่กำหนดไว้ดังกล่าว ให้กระทำได้เมื่อได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากร
การลงรายการในรายงานภาษีขาย การลงรายการสำหรับใบกำกับภาษีอย่างย่อ ให้ลงรายการเฉพาะมูลค่าสินค้าหรือบริการและจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มทั้งหมดต่อวันที่ได้รับหรือพึงได้รับ ซึ่งเกิดจากใบกำกับภาษีอย่างย่อตามมาตรา 86/6 มาตรา 86/7 และใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/5 ที่ไม่มีลักษณะเป็นใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปนั้น ลงรายการภายในสามวันทำการนับแต่วันที่ระบุไว้ในใบกำกับภาษีอย่างย่อตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขต่อไปนี้ (1) ไม่ต้องระบุชื่อผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ และรายการสินค้าหรือบริการ และต้องแยกจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มสินค้าหรือบริการ โดยต้องสัมพันธ์กับมูลค่าสินค้าหรือบริการ (2) กรณีจัดทำใบกำกับภาษีอย่างย่อเป็นเล่ม ให้ลงรายการมูลค่าสินค้าหรือบริการที่เป็นยอดรวมแต่ละยอดตามใบกำกับอย่างย่อ โดยระบุว่า “เล่มที่… เลขที่…ถึงเลขที่…” (3) กรณีจัดทำใบกำกับภาษีอย่างย่อโดยไม่ได้ออกเป็นเล่ม ให้ลงรายการมูลค่าสินค้าหรือบริการเป็นยอดรวมแต่ละยอดตามใบกำกับภาษีอย่างย่อ โดยระบุว่า “เลขที่…ถึงเลขที่…”
การลงรายการในรายงานภาษีขาย การลงรายการสำหรับใบกำกับภาษีอย่างย่อ (ต่อ) กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรให้ใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงินเพื่อออกใบกำกับภาษีตามมาตรา 86/4 มาตรา 86/5 และมาตรา 86/6 ซึ่งเครื่องบันทึกการเก็บเงินออกรายงานสรุปการขายประจำวันแยกเป็นรายเครื่องบันทึกการเก็บเงิน ให้ลงรายการเฉพาะมูลค่าสินค้าหรือบริการและจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มทั้งหมดต่อวันที่ได้รับหรือพึงได้รับ ซึ่งเกิดจากการขายสินค้าหรือการให้บริการ โดยแยกออกเป็นรายเครื่องบันทึกการเก็บเงินพร้อมทั้งระบุเลขรหัสประจำเครื่องบันทึกการเก็บเงินที่อธิบดีกรมสรรพากรไว้ในรายงานภาษีขายด้วย และให้ลงรายการภายในสามวันทำการนับแต่วันที่เครื่องบันทึกการเก็บเงินออกใบกำกับภาษี เว้นแต่ กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงินชนิดไฟฟ้า หรือชนิดคอมพิวเตอร์ที่ใช้ต่อเชื่อเข้ากับระบบคอมพิวเตอร์หรืออุปกรอื่นเป็นระบบ POSS (Point of Sale System) จะต้องจัดทำรายงานภาษีขายโดยอัตโนมัติทุกสิ้นวันทำการ
การลงรายการในรายงานภาษีขาย กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ประกอบกิจการค้าปลีก ซึ่งมีสิทธิออกใบกำกับภาษีอย่างย่อ แต่ต้องจัดทำใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปตามมาตรา 86/4 สำหรับการขายสินค้าหรือการให้บริการทุกครั้ง เมื่อถูกเรียกร้อง ให้ดำเนินการดังนี้ กรณีจัดทำใบกำกับภาษีอย่างย่อเป็นเล่มหรือไม่ได้ออกเป็นเล่มผู้ประกอบการจดทะเบียนต้องจัดทำใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปตามมาตรา 86/4 ส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการโดยไม่ต้องจัดทำใบกำกับภาษีอย่างย่ออีก และให้ลงรายการสำหรับใบกำกับภาษีอย่างย่อตามปกติ กรณีใช้เครื่องบันทึกเก็บเงินออกใบกำกับภาษีอย่างย่อและลงรายการแล้ว หากผู้ประกอบการจดทะเบียนต้องจัดทำใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปตามมาตรา 86/4 ส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ ให้ลงรายการตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป เป็นรายใบกำกับภาษีด้วย โดยไม่ต้องระบุมูลค่าสินค้าหรือบริการและจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่ม และหมายเหตุไว้ว่า “ออกแทนใบกำกับภาษีอย่างย่อ เลขที่… ”
การลงรายการในรายงานภาษีขาย กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนประกอบกิจการสถานบริการน้ำมัน ให้ลงรายการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในข้อ 3.1 หรือข้อ 3.2 แล้วแต่กรณี เว้นแต่การขายน้ำมันของสถานบริการน้ำมัน ซึ่งได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรให้เสียภาษีมูลค่าเพิ่มจากมิเตอร์หัวจ่าย ให้ลงรายการเฉพาะมูลค่าสินค้าแบะจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มทั้งหมดต่อวันที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการขายน้ำมันเชื้อเพลิงผ่านมิเตอร์หัวจ่ายตามรายงานแดงรายละเอียดการขายน้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละชนิด (ส่วน ก.) ซึ่งต้องจัดทำเป็นรายวันอยู่แล้ว และให้ลงรายการภายในสามวันทำการนับแต่วันที่จัดทำรายงานแสดงรายละเอียดการขายน้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละชนิด (ส่วน ก.)
การลงรายการในรายงานภาษีขาย ผู้ประกอบการจดทะเบียนดังต่อไปนี้ ให้ลงรายการตามมูลค่าสินค้าหรือบริการและจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่ได้รับหรือพึงได้รับ โดยจัดให้มีเอกสารประกอบการลงรายงานตามประเภทความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งเอกสารดังกล่าวต้องมีปริมาณและมูลค่าสินค้าหรือบริการเพื่อคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนมีความผิดต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เมื่อมีการจำหน่าย จ่าย โอนสินค้าโดยไม่มีค่าตอบแทน ตามมาตรา 77/1(8) หรือเมื่อมีการให้บริการโดยไม่มีค่าตอบแทนตามมาตรา 77/1(10) กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนมีความรับผิดต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 77/1(8) (ง)(จ)(ฉ) และ (ช) หรือมาตรา 77/1(10) กรณีการใช้บริการของตนเองไม่ว่าประการใด ๆ กรณีส่วนราชการเป็นผู้ทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ประกอบจดทะเบียนตาม 83/5 ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนลงรายงานภาษีขายตามหลักฐานใบเสร็จรับเงินของทางราชการ
การลงรายการในรายงานภาษีขาย กรณีผู้ทอดตลาดที่มิ่ส่วนราชการได้ขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ประกอบการจดทะเบียน และได้นำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 83/5 โดยยื่นรายการตามแบบ ภ.พ.36 นำส่งภาษีตามมาตรา 83/5 วรรคสอง ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่ต้องนำมูลค่าสินค้าแบะจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มตามสำเนาใบกำกับภาษีที่ออกตามมาตรา 86/3 มาลงรายการในรายงานภาษีขาย กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่ต้องนำค่าตอบแทนที่มีลักษณะ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดีกรมสรรพการเกี่ยวกับภาษีมูลค่า เพิ่ม ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 79(4) มารวมคำนวณเป็นมูลค่าของฐานภาษีตามมาตรา 79 ผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่ต้องนำค่าตอบแทนดังกล่าวมาลงรายในรายงานภาษีขาย
การลงรายการในรายงานภาษีขาย กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนขายสินค้าโดยการส่งออก ให้ลงรายการตามมูลค่าสินค้าส่งออก โดยให้ใช้ราคา FOB. ของสินค้า และให้ลงรายการภายในสามวันทำการ นับแต่วันที่กรมศุลกากรออกใบขนสินค้าขาออก ดังต่อไปนี้ การส่งสินค้าออกนอกราชอาณาจักรเพื่อส่งไปต่างประเทศซึ่งความรับผิดในเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้นเมื่อชำระอากรขาออก วางหลักประกันอากรขาออก หรือจัดให้มีผู้ค้ำประกันอากรขาออก ให้ลงรายการภายในสามวันทำการนับแต่วันที่ชำระอากรขาออก วางหลักประกันอากรขาออก หรือจัดให้มีผู้ค้ำประกันอากรขาออก แล้วแต่กรณี การนำสินค้าในราชอาณาจักรเข้าไปในเขตอุตสาหกรรมส่งออกตามมาตรา 77/1(14) (ก) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้นในวันที่นำสิน้าในราชอาณาจักรเข้าไปในเขตอุตสาหกรรมส่งออก ให้ลงรายภายในสามวันทำการนับแต่วันที่นำสินค้าเข้าไปในเขตอุตสาหกรรมส่งออก
การลงรายการในรายงานภาษีขาย กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนออกใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา 86/9 หรือใบลดหนี้ตามมาตรา 86/10 ให้ลงรายการเป็นรายใบเพิ่มหนี้และใบลดหนี้ ภายในสามวันทำการนับแต่วันที่ระบุในใบเพิ่มหนี้หรือใบลดหนี้ แล้วแต่กรณี ผู้ประกอบการจดทะเบียนดังกล่าว สามารถจัดทำรายงานภาษีขายที่ลงรายการเฉพาะรายการตามใบเพิ่มหนี้หรือใบลดหนี้ต่างหากอีกหนึ่งรายงานก็ได้ กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนมีหนี้สูญเกิดขึ้นจากการขายสินค้าหรือการให้บริการ และได้มีการจำหน่ายหนี้สูญดังกล่าวตามจำนวน หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนนำภาษีขายที่คำนวณจากส่วนของหนี้สูญมาหักออกจากภาษีขายในเดือนภาษีที่ได้มีการจำหน่ายหนี้สูญ โดยใช้เอกสารการตัดหนี้สูญทางบัญชีประกอบการลงรายการในรายงานภาษีขาย
รายการที่ต้องบันทึกในรายงานภาษีขาย รายการที่ต้องบันทึกในรายงานภาษีขายเสมอ และเป็นรายการเพิ่มยอดภาษีขาย รายการขายสินค้าหรือการให้บริการโดยทั่วไป รายการแลกเปลี่ยนสินค้า (Barter) กับสินค้าหรือแลกเปลี่ยนกับบริการ รายการนำสินค้าเก่าไปชำระเป็นส่วนหนึ่งของราคาสินค้าที่ซื้อใหม่ (Trade in) รายการให้บริการจัดนำเที่ยวในต่างประเทศ การส่งสินค้าให้ลูกค้าทดลองใช้ก่อนซื้อ และเมื่อลูกค้าพอใจในสินค้าดังกล่าว ได้ตกลงขายสินค้าตามที่ได้ส่งมอบให้ลูกค้าทดลองใช้นั้น โดยถือเป็นการขายตั้งแต่วันที่ได้ส่งมอบสินค้าให้ลูกค้าทดลองใช้นั้น การส่งสินค้าที่จะขายไปให้ลูกค้าเลือกซื้อเกินกว่า 14 วัน และหรือผู้ประกอบการจดทะเบียนมิได้ลงรายการในรายงานสินค้าและวัตถุดิบในช่องหมายเหตุไว้ให้ชัดเจนว่า เป็นสินค้าที่ส่งไปให้ลูกค้าเลือกซื้อ
รายการที่ต้องบันทึกในรายงานภาษีขาย รายการขายสินค้าหรือให้บริการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 รายการให้บริการที่กระทำในราชอาณาจักรและได้มีการใช้บริการนั้นในต่างประเทศ โดยผู้ประกอบการจดทะเบียนต้องกระทำกิจการอันเป็นสาระสำคัญของการรับจ้างทำของในประเทศไทยและได้ส่งผลของการรับจ้างทำของนั้นไปใช้ในต่างประเทศทั้งหมด และต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ รายการขนส่งระหว่างประเทศโดยอากาศยาน หรือเรือเดินทะเล รายการขายสินค้าหรือให้บริการกับกระทรวง ทบวง กรม ราชการส่งท้องถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ ตามโครงการเงินกู้หรือเงินช่วงเหลือจากต่างประเทศ การขายสินค้าหรือการให้บริการกับองค์การสหประชาชาติ ทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล หรือองค์การะหว่างประเทศอื่นฯ
รายการที่ต้องบันทึกในรายงานภาษีขาย รายการขายสินค้าหรือให้บริการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 (ต่อ) การขายสินค้าหรือให้บริการระหว่างคลังสินค้าทัณฑ์บน หรือระหว่างคลังสินค้าทัณฑ์บน กับผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ประกอบกิจการในเขต EPZ หรือระหว่างผู้ประกอบการจดทะเบียน ที่ประกอบกิจการอยู่ในเขต EPZ ไม่ว่าจะอยู่ในเขต EPZ เดียวกันหรือไม่ ตามหลักฐานสำเนาใบกำกับภาษี และใบผ่านพิธีการศุลกากรสินค้า รายการส่งสินค้าออกนอกราชอาณาจักรเพื่อส่งไปต่างประเทศ ตามหลักฐานสำเนา Invoice และใบขนสินค้าขาออก รายการนำสินค้าในราชอาณาจักรเข้าไปในเขต EPZ เฉพาะสินค้าที่ต้องเสียอากรขาออก หรือได้รับยกเว้นอากรขาออกตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร ตามหลักฐานสำเนาใบกำกับภาษี และใบผ่านพิธีการศุลกากร การขายสินค้าของคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทร้านค้าปลอดอากร ตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรที่ขายให้แก่ผู้เดินทางออกไปนอกราชอาณาจักร ตามหลักฐานสำเนา Invoice และใบขนสินค้าขาออก
รายการที่ต้องบันทึกในรายงานภาษีขาย รายการที่อาจพบในรายงานภาษีขายเสมอ และเป็นรายการเพิ่มยอดภาษีขาย รายการส่งมอบสินค้าให้ตัวแทนเพื่อขาย กรณีที่การฝากขายสินค้าไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามมาตรา 78(3) รายการเพิ่มราคาสินค้าหรือค่าบริการ ตามใบเพิ่มหนี้ รายการนำสินค้าหรือบริการไปใช้เพื่อการอื่นใด ที่มิใช่เพื่อการประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามหลักฐานใบสำคัญ เพราะไม่ต้องออกใบกำกับภาษี การนำรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน และสินค้าที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ดังกล่าวที่มีไว้หรือการให้บริการไปใช้ในกิจการ รายการสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ ตามผลการตรวจสอบ รายการสินค้าคงเหลือหรือทรัพย์สินที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนมีไว้ในการประกอบกิจการ ณ วันเลิกประกอบกิจการ หรือวันที่ได้รับแจ้งคำสั่งถอนทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
รายการที่ต้องบันทึกในรายงานภาษีขาย รายการที่อาจพบในรายงานภาษีขายเสมอ และเป็นรายการเพิ่มยอดภาษีขาย (ต่อ) รายการขายสินค้าหรือการให้บริการที่ไม่ได้รับประโยชน์ หรือค่าตอบแทนที่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม อาทิ รายการแจกสินค้าหรือสิ่งของไม่ว่าเพื่อการใดๆ รายการแถมสินค้าที่แถมต่างหากหรือมิได้แถมไปพร้อมกับการขายสินค้า หรือการให้บริการ หรือมูลค่าของสินค้าที่แถมมีมูลค่าเกินกว่ามูลค่าของสินค้าที่ขายหรือบริการที่ให้ รายการแจกสินค้าตัวอย่างให้แก่ผู้จัดจำหน่าย หรือการแจกสินค้าตัวอย่างที่มิใช่เป็นการแจกสินค้าตัวอย่างเพื่อการส่งเสริมการขาย รายการให้ยืมใช้สิ้นเปลือง และการใช้คืนสินค้าที่ได้ยืมใช้สิ้นเปลือง รายการบริจาคสินค้าที่มิใช่การบริจาคให้แก่องค์การสาธารณกุศล
รายการที่ต้องบันทึกในรายงานภาษีขาย รายการพิเศษที่อาจพบในรายงานภาษีขายที่เป็นรายการลดยอดภาษีขาย อาทิ รายการจำหน่ายหนี้สูญ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 85) รายการรับคืนสินค้าหรือบอกเลิกสัญญาบริการ ตามสำเนาใบลดหนี้ รายการลดราคาสินค้าหรือค่าบริการ เนื่องจากสินค้าหรือบริการผิดข้อกำหนดที่ตกลงกัน หรือสินค้าหรือบริการขาดจำนวน หรือสินค้าชำรุดเสียหาย หรือเนื่องจากคำนวณราคาผิดพลาดสูงกว่าที่เป็นจริง ตามสำเนาใบลดหนี้
รายการที่ต้องบันทึกในรายงานภาษีซื้อ รายการที่ต้องบันทึกในรายงานภาษีซื้อ และเป็นรายการเพิ่มยอดภาษีซื้อ รายการซื้อสินค้าและรับบริการ ตามหลักฐานใบกำกับภาษี รายการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ ตามหลักฐานใบเสร็จรับเงินค่าภาษีมูลค่าเพิ่มของกรมศุลกากร สำหรับจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มจากการนำเข้าสินค้าตามหลักฐานใบเสร็จรับเงินของกรมศุลกากรนั้น ในทางปฏิบัติกรมสรรพากรอนุโลมให้นำจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มจากการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ ตามหลักฐานใบเสร็จรับเงินของกรมศุลกากรมาถือเป็นภาษีซื้อได้ทั้งจำนวน รายการซื้อสินค้าทุน หรือทรัพย์สินในประเทศจากผู้ประกอบการจดทะเบียนตามหลักฐานใบกำกับภาษี รายการเพิ่มราคาสินค้าหรือค่าบริการ ตามหลักฐานใบเพิ่มหนี้
รายการที่ต้องบันทึกในรายงานภาษีซื้อ รายการที่ต้องบันทึกในรายงานภาษีซื้อ และเป็นรายการเพิ่มยอดภาษีซื้อ (ต่อ) รายการนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามแบบแสดงรายการ ภ.พ.36 ตามหลักฐานใบเสร็จรับเงินของกรมสรรพากร และแบบแสดงรายการ ภ.พ.36 เนื่องจากกรณีดังต่อไปนี้ (1) ซื้อสินค้าหรือรับบริการจากผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักร และเข้ามา ประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการเป็นการชั่วคราวโดยไม่จดทะเบียน VAT (2) จ่ายเงินค่าบริการให้แก่ผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักรที่ได้ให้บริการ นอกราชอาณาจักรและได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร รายการนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มตามแบบแสดงรายการ ภ.พ.36 เนื่องจากรับโอนกรรมสิทธิ์สินค้าหรือสิทธิในบริการที่เคยเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 จากองค์การสหประชาชาติ ทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล ตามหลักฐานใบเสร็จรับเงินของกรมสรรพากร และแบบแสดงรายการ ภ.พ.36
รายการที่ต้องบันทึกในรายงานภาษีซื้อ รายการลดยอดภาษีซื้อในรายงานภาษีซื้อ รายการส่งคืนสินค้าหรือบอกเลิกสัญญาบริการตามหลักฐานใบลดหนี้ที่ได้รับมาจากผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการ รายการแสดงราคาสินค้าหรือค่าบริการ เนื่องจากสินค้าหรือบริการผิดข้อกำหนดที่ตกลงกัน สินค้าหรือบริการขาดจำนวน สินค้าชำรุดเสียหาย หรือเนื่องจากคำนวณราคาผิดพลาดสูงกว่าที่เป็นจริงตามใบลดหนี้ รายการเกี่ยวกับใบลดหนี้ ให้ลงรายการให้แล้วเสร็จภายใน 3 วันทำการนับแต่วันที่ได้รับใบลดหนี้ ในปัจจุบันไม่ต้องลงรายการสำหรับใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป ซึ่งไม่สามารถนำไปหักในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มเนื่องจากต้องห้ามตามมาตรา 82/5 แห่งประมวลรัษฎากร แล้ว ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2541 เป็นต้นมา ตามประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 89)
วิธีการออกใบกำกับภาษีที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย 1. ปลอมใบกำกับภาษีของผู้ประกอบการที่ค้าขายปกติ 2. ผู้ประกอบการที่มีการขายจริง แต่ขายใบกำกับภาษีที่เหลือ 3. จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท / ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล เพื่อออกใบกำกับภาษีขายให้ผู้ใช้ทั่ว ๆ ไป 4. จัดตั้งบริษัท/ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล เพื่อออกใบกำกับภาษี ให้บริษัทในเครือโดยเฉพาะ
ผู้ประกอบการจะตรวจสอบได้อย่างไร 1. สังเกตจากความน่าเชื่อถือของผู้ประกอบการที่เป็นคู่ค้า 2. สังเกตจากประเภทธุรกิจที่มีความเสี่ยงต่อใบกำกับภาษีปลอม 3. คู่สัญญาขอให้แยกค่าบริการกับค่าสินค้าต่างหากจากกัน โดยขอนำใบกำกับภาษีค่าสินค้าจากผู้ขายมาให้โดยตรง 4. เกลือเป็นหนอน, ทุจริตภายในองค์กร 5. ของดีราคาถูก (ไม่มีจริง)
ข้อสังเกตในการตรวจใบกำกับภาษี ที่อาจจะออกโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย 1. ประเภทสินค้าที่มีความเสี่ยงสูง วัสดุก่อสร้าง ผ้า, พลาสติก กระดาษ เคมีภัณฑ์ เพชร พลอย 2. สินค้าที่ซื้อไม่เกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการ 3. ซื้อจากสถานที่ที่ไม่น่าจะซื้อ 4. ใบกำกับภาษีมูลค่าสูง, ราคาสินค้าหรือบริการไม่น่าเชื่อถือ, เขียนด้วยลายมือ, จ่ายชำระค่าสินค้าเป็นเงินสด
ข้อสังเกตในการตรวจใบกำกับภาษี ที่อาจจะออกโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย (ต่อ) 5. ซื้อจากผู้ประกอบการรายเดียว ในวันที่ติดๆ กัน หรือใกล้กัน 6. ใบกำกับภาษีซื้อที่มีการนำมาใช้ในช่วงปลายเดือน ปลายปี 7. ใบกำกับภาษีไม่พิมพ์ “เล่มที่” 8. แบบฟอร์มใบกำกับภาษีคล้ายกัน หรือลายมือที่เขียนคล้ายกัน แต่ชื่อผู้ออกใบกำกับภาษีต่างกัน 9. วิธีการซื้อสินค้า ไม่ได้ซื้อจาก Supplier โดยตรง แต่ซื้อจากเซลล์ หรือพนักงานขายสินค้า
หาข้อเท็จจริงว่าปลอมหรือไม่ 1. พิจารณาการยื่นแบบ ภ.พ.30 ของผู้ออก 2. พิจารณาสถานประกอบการผู้ออก 3. พิจารณารายงานสินค้าและวัตถุดิบ (มีการบันทึกรับสินค้าหรือไม่) 4. พิจารณาหลักฐานใบส่งสินค้า, ใบกำกับสินค้า 5. พิจารณาขั้นตอนวิธีซื้อสินค้า วิธีการติดต่อซื้อสินค้า (ไปซื้อที่ร้าน, มีพนักงานขาย (เซลล์) มาติดต่อ, โทรศัพท์สั่งซื้อ ฯลฯ) บุคคลที่ติดต่อเป็นใคร ส่งมอบสินค้าด้วยวิธีใด วิธีชำระเงินค่าสินค้า
หาข้อเท็จจริงว่าปลอมหรือไม่ (ต่อ) 6. ตรวจหลักฐานการจ่ายเงิน จ่ายเป็นเช็ค A/C payee only เช็คกลับเข้าบัญชีกรรมการหรือไม่ เช็คกลับเข้าบัญชีบริษัทเอง หรือ เข้าบัญชีกรรมการ หรือไม่ จ่ายเช็คเงินสด ผู้รับเงินตามเช็คเป็นใคร ซื้อจากรายอื่นๆ จ่ายชำระเป็นเงินสด หรือไม่ จ่ายเงินสด มูลค่าสินค้าสูงไม่น่าจะจ่ายเงินสด ดู Cash Flow 7. พิจารณาผู้ทำบัญชี สำนักงานบัญชี
การสอบยันผู้ออกใบกำกับภาษี 1. ดูสถานประกอบการ 2. ดูการยื่นแบบ ภ.พ. 30 3. ดูรายงานภาษีขาย 4. ดูรายงานสินค้า และวัตถุดิบ 5. วิธีการส่งมอบสินค้า, การขนส่ง เปรียบเทียบกับการขาย ให้รายอื่น ๆ ทั่วไปด้วย 6. หลักฐานการรับชำระค่าสินค้า
ผู้ประกอบการส่งออก สรุปหลักเกณฑ์การเป็นผู้ประกอบการส่งออกที่ดีของกรมสรรพากร (ตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.596/2545ฯ ลงวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.507/2548ฯ ลงวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2548)
คุณสมบัติ 1. กรณีผู้ส่งออกทั่วไป 1. กรณีผู้ส่งออกทั่วไป (1) เป็นบริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชนจำกัด ที่เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (2) มีทุนจดทะเบียนที่ชำระแล้วตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไป (3) มีการส่งสินค้าไปขายยังต่างประเทศในอัตราส่วนตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ของยอดขายรวมสำหรับระยะ เวลา 12 เดือน ก่อนยื่นคำขอรับการจัดระดับการส่งสินค้าไปขายยังต่างประเทศ ให้รวมถึงการขายสินค้าระหว่างผู้ประกอบการที่ประกอบกิจการในเขตอุตสาหกรรมส่งออกด้วยกัน ไม่ว่าจะอยู่ในเขตอุตสาหกรรมส่งออกเดียวกันหรือไม่ก็ตาม (4) มีความมั่นคงต่อเนื่องและน่าเชื่อถือในการประกอบการ และมีกรรมสิทธิ์ในสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน อาคาร โรงงาน ฯลฯ
คุณสมบัติ (5) มีทรัพย์สินสุทธิมากกว่าหนี้สินสุทธิ สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปีสุดท้ายก่อนยื่นคำขอ (6) มีประวัติการเสียภาษีที่ดี เสียภาษีสอดคล้องกับสภาพเป็นจริงของกิจการ ไม่มีพฤติการณ์หลีกเลี่ยงภาษี (7) เป็นสมาชิกของสมาคมหรือองค์กรเอกชน(ในทางการค้า) เช่น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย เป็นต้น หรือ เป็นผู้ประกอบการที่อยู่ในนิคมอุตสาหกรรม และสมาคมหรือองค์กรภาคเอกชน หรือการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยแล้วแต่กรณี รับรองว่ามีการประกอบกิจการอยู่เป็นปกติ ไม่มีข่าวสารที่แสดงถึงการขาดความน่าเชื่อถือทางการเงินและมีหนี้สินล้นพ้นตัวแต่อย่างใด
คุณสมบัติ 2. กรณีผู้ส่งของออกระดับบัตรทองของกรมศุลกากร 2. กรณีผู้ส่งของออกระดับบัตรทองของกรมศุลกากร (1) เป็นบริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชนจำกัด ที่เป็นผู้ประกอบ การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มและเป็นผู้ส่งของออกระดับบัตรทองของกรมศุลกากร (2) มีการส่งสินค้าไปขายยังต่างประเทศ ในอัตราส่วนตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป ของยอดขายรวม สำหรับระยะเวลา 12 เดือน ก่อนยื่นคำขอรับการจัดระดับการส่งสินค้าไปขายยังต่างประเทศตามวรรคหนึ่ง ให้รวมถึงการขายสินค้าระหว่างผู้ประกอบการที่ประกอบกิจการในเขตอุตสาหกรรมส่งออกด้วยกัน ไม่ว่าจะอยู่ในเขตอุตสาหกรรม ส่งออกเดียวกันหรือไม่ก็ตาม (3) มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับกรณีผู้ส่งออกทั่วไป ข้อ (4) - (7)
เงื่อนไข ผู้ประกอบการส่งออกที่จะได้รับการจัดระดับให้เป็นผู้ประกอบการส่งออกที่ดี จะต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ด้วย (1) ขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มโดยการนำเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร (2) กรณีมีสาขา ต้องได้รับอนุมัติให้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีและชำระภาษีมูลค่าเพิ่มรวมกัน (3) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่รับรองงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่ยื่นคำขอ ต้องได้รับ การแต่งตั้งจากมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไขตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร โดยให้แจ้งชื่อ เลขทะเบียนผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ชื่อสำนักงานผู้สอบบัญชี และแจ้งชื่อผู้ทำบัญชี สำนักงานบัญชีด้วย
สิทธิประโยชน์ 1. กรณียื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะได้รับคืนเงินภาษีมูลค่าเพิ่ม ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ยื่นแบบฯ 2. กรณียื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา สาขา จะได้รับการคืนเงินภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 45 วัน นับแต่วันที่ยื่นแบบฯ ยกเว้น ในกรณีที่มีหลักฐานหรือข้อมูลชัดแจ้งว่า ผู้ประกอบการส่งออกที่ดียื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ไม่ถูกต้อง และเห็นสมควรตรวจก่อนคืน กรมสรรพากรจะแจ้ง เหตุที่ไม่สามารถคืนภาษีภายในเวลาที่กำหนดให้ผู้ประกอบการส่งออกที่ดีทราบ ทั้งนี้ สิทธิดังกล่าวมีกำหนดระยะเวลา 2 ปี นับแต่เดือนภาษีที่อธิบดีกรมสรรพากรอนุมัติให้เป็นผู้ประกอบการส่งออกที่ดี
การยื่นคำขอ ยื่นคำขอ (สด.1) พร้อมเอกสารหลักฐานต่อหน่วยงาน ดังนี้ 1. บริษัทที่อยู่ในการกำกับดูแลของสำนักบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ ยื่นคำขอได้ที่ส่วนวางแผนและประเมินผลของสำนักบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ 2. บริษัทอื่น ให้ยื่นคำขอได้ที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่ (1) กรณีสถานประกอบการซึ่งมีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี มูลค่าเพิ่ม ตั้งอยู่ในท้องที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นที่ฝ่ายภาษีหัก ณ ที่จ่ายและคืนภาษี (2) กรณีสถานประกอบการซึ่งมีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม ตั้งอยู่ในท้องที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่นอกเขตกรุงเทพ มหานคร ให้ยื่นที่ฝ่ายกรรมวิธีและคืนภาษี กรณีสิทธิประโยชน์ของผู้ประกอบการส่งออกที่ดีจะสิ้นสุดลง เนื่องจากครบกำหนดระยะเวลา 2 ปี หากผู้ประกอบการมีความประสงค์จะเป็นผู้ประกอบการส่งออกที่ดีต่อไป ให้ยื่นคำขอใหม่ก่อนระยะเวลา 3 เดือนที่สิทธิประโยชน์จะสิ้นสุดลง
ขั้นตอนการพิจารณาอนุมัติ 1. สำนักบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ หรือสำนักงานสรรพากรพื้นที่ตรวจความน่าเชื่อถือของผู้ประกอบการ แล้วเสนอความเห็นไปยังกรมสรรพากร 2. กรมสรรพากรโดยคณะกรรมการพิจารณาจัดระดับผู้ประกอบ การส่งออกที่ดี สรุปความเห็น เสนออธิบดีกรมสรรพากรอนุมัติ 3. สำนักบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ หรือสำนักงานสรรพากรพื้นที่ แจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ประกอบการส่งออกทราบ รายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่ : สำนักบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ และสำนักงานสรรพากรพื้นที่ หรือสอบถามโดยตรงที่ สำนักมาตรฐานการกำกับและตรวจสอบภาษี ( ชั้น 18 ) กรมสรรพากร โทร. 0-2272-8035 , 0-2272-8924 , 0-2272-9122 และ 0-2617-9487 ทุกวันในเวลาราชการ
คุณสมบัติของผู้ส่งออกขึ้นทะเบียน 1. เป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดาที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 2. มีการประกอบกิจการมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน และมีการส่งสินค้าไปขายยังต่างประเทศโดยสม่ำเสมอตามสภาพธุรกิจในสัดส่วนที่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของยอดขายรวม สำหรับระยะเวลา 12 เดือน ก่อนยื่นคำขอฯ และได้นำเงินตราต่างประเทศจากการขายนั้นเข้ามาในประเทศไทยหรือมีหลักฐานการหักกลบลบหนี้ 3. มีความมั่นคงต่อเนื่อง น่าเชื่อถือในการประกอบกิจการ และมีกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ที่ใช้ในการประกอบกิจการ เช่น ที่ดิน อาคารโรงงาน ฯลฯ 4. มีทรัพย์สินสุทธิมากกว่าหนี้สินสุทธิ สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปีสุดท้ายก่อนยื่นคำขอฯ สำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
คุณสมบัติของผู้ส่งออกขึ้นทะเบียน 5. มีประวัติการเสียภาษีที่ดี มีการเสียภาษีสอดคล้องกับสภาพเป็นจริงของกิจการ ไม่มีพฤติการณ์หลีกเลี่ยงภาษี 6. เป็นสมาชิกของสมาคมหรือองค์กรภาคเอกชน (ในทางการค้า) เช่น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย หอการค้าไทย หอการค้าจังหวัด ฯลฯ และได้รับการรับรองฐานะการเงินว่ามีความมั่นคงและเชื่อถือได้จากสมาคมหรือองค์กรดังกล่าว นอกจากนี้ ผู้ประกอบการส่งออกอาจมีระบบการจัดการและระบบ การควบคุมภายในที่ดี เช่น มีระบบการตรวจสอบภายใน การจัดทำประมาณการแผนการส่งออก มีงบการ เงินเป็นรายเดือน หรือรายไตรมาส เป็นต้น เป็นคุณสมบัติเพิ่มเติม เพื่อเป็นองค์ประกอบในการพิจารณาเป็นผู้ส่งออกขึ้นทะเบียนกรณีที่มีคุณสมบัติไม่ครบถ้วน แต่มีเหตุอันสมควร คณะกรรมการพิจารณาจัดให้เป็นผู้ส่งออกขึ้นทะเบียน อาจพิจารณายกเว้นคุณสมบัติดังกล่าวให้ได้
เงื่อนไข ผู้ประกอบการส่งออกที่จะได้รับอนุมัติให้เป็นผู้ส่งออกขึ้นทะเบียน จะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1. ขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มโดยการนำเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร ตามวิธีปฏิบัติในการขอให้นำเงินภาษีมูลค่าเพิ่มเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารแนบท้ายคำสั่งนี้ 2. กรณีมีสถานประกอบการหลายแห่ง ต้องได้รับอนุมัติให้ยื่นแบบแสดงรายการ และชำระภาษีมูลค่าเพิ่มรวมกัน 3. กรณีเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตหรือผู้สอบบัญชีภาษีอากร ที่ตรวจสอบและรับรองบัญชีสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่ยื่นคำขอ ต้องได้รับการแต่งตั้งจากมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไขตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากรโดยให้แจ้งชื่อ เลขทะเบียนของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต พร้อมทั้งชื่อสำนักงานผู้สอบบัญชี และให้แจ้งชื่อผู้ทำบัญชี พร้อมทั้งสำนักงานบัญชีด้วย
สิทธิประโยชน์ ผู้ประกอบการจะได้รับสิทธิมีกำหนดระยะเวลา 2 ปี นับแต่เดือนภาษีที่ได้รับอนุมัติให้เป็นผู้ส่งออกขึ้นทะเบียน ดังนี้ 1. ผู้ส่งออกขึ้นทะเบียน ที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะได้รับการคืนเงินภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 30 วันนับแต่วันที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม 2. ผู้ส่งออกขึ้นทะเบียนที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา จะได้รับการคืนเงินภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม ในกรณีที่มีหลักฐานหรือข้อมูลชัดแจ้งว่าผู้ส่งออกขึ้นทะเบียน ยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ไม่ถูกต้อง และเห็นสมควรตรวจก่อนคืน กรมสรรพากรจะแจ้งเหตุที่ไม่สามารถคืนภาษีภายในเวลาที่กำหนดให้ผู้ส่งออกขึ้นทะเบียนทราบ
ภาษีธุรกิจเฉพาะ Specific Business Tax สุเทพ พงษ์พิทักษ์ ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการสอบบัญชีภาษีอากร
กิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ การธนาคาร ตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์ หรือกฎหมายเฉพาะ การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ ตามกฎหมายว่าด้วย การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ การรับประกันชีวิต ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันชีวิต การรับจำนำ ตามกฎหมายว่าด้วยโรงรับจำนำ การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ เช่น การให้กู้ยืมเงินค้ำประกัน แลกเปลี่ยนเงินตรา ออก ซื้อ หรือขายตั๋วเงิน หรือรับส่งเงินไปต่างประเทศด้วยวิธีต่าง ๆ การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร (พรฎ. (ฉ. 342) พ.ศ.2541)) กิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพย์ (พรฎ. (ฉ. 350) พ.ศ.2542) ดู(พรฎ. (ฉ.364) พ.ศ.2542) ประกอบ) ธุรกิจแฟ็คตอริ่ง (พรฎ. (ฉ.358) พ.ศ.2542))
การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร ให้การขายอสังหาริมทรัพย์เฉพาะที่ต้องจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมดังต่อไปนี้ เป็นการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไรที่ต้องเสียภาษี ธุรกิจเฉพาะตามมาตรา 91/2 (6) แห่งประมวลรัษฎากร (มาตรา 4 แห่ง พรฎ. (ฉ.342) พ.ศ.2541 ใช้บังคับ 1 ม.ค.2542) (1) การขายอสังหาริมทรัพย์ของผู้ซึ่งได้รับอนุญาตให้ทำการจัดสรรที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการจัดสรรที่ดิน (2) การขายห้องชุดของผู้ประกอบกิจการซึ่งเป็นผู้ขอจดทะเบียนอาคาร ชุด ตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด (3) การขายอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารที่สร้างขึ้นเพื่อขาย รวมถึงการ ขายที่ดินอันเป็นที่ตั้งของอาคารดังกล่าว (4) การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่เข้าลักษณะตาม (1) (2) หรือ (3) เฉพาะ กรณีที่มีการแบ่งขายหรือมีการแบ่งแยกไว้เพื่อขาย โดยได้ จัดทำถนนหรือสิ่ง สาธารณูปโภคอื่น หรือให้คำมั่นว่าจะจัดให้มีสิ่ง ดังกล่าว (5) การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ผู้ขายมีไว้ในการประกอบกิจการเฉพาะ ของ นิติบุคคลตามมาตรา 77/1 แห่งประมวลรัษฎากร
การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร (6) การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่เข้าลักษณะตาม (1)(2)(3)(4) หรือ (5) ที่ได้กระทำภายในห้าปีนับแต่วันที่ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์นั้น เว้นแต่ (ก) การขายหรือการถูกเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืน อสังหาริมทรัพย์ (ข) การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางมรดก (ค) การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ใช้เป็นสถานที่อยู่อาศัยอันเป็นแหล่ง สำคัญที่ผู้ขายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียน ราษฎรเป็นเวลา ไม่น้อยกว่า1 ปีนับแต่วันที่ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ นั้น ในกรณีที่ที่ดินและอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างตาม (ค) ได้มาไม่ พร้อมกัน กำหนดเวลาห้าปีตามความใน (6) ให้ถือตามระยะเวลา การได้มาซึ่งที่ดินหรืออาคาร หรือสิ่งปลูกสร้างที่ได้มาภายหลัง (ง) การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดย ไม่มี ค่าตอบแทนให้แก่บุตรชอบด้วยกฎหมายของตน แต่ไม่รวมถึงบุตร บุญธรรม
การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร (จ) การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ทาง มรดก ให้แก่ทายาทโดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรมซึ่งเป็นทายาทโดยธรรม (ฉ) การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ ให้แก่ ส่วนราชการหรือองค์การของรัฐบาลตามมาตรา 2 แห่งประมวล รัษฎากรโดย ไม่มีค่าตอบแทน (ช) การแลกเปลี่ยนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ กับ ส่วนราชการหรือองค์การของรัฐบาลตามมาตรา 2 แห่งประมวล รัษฎากร เฉพาะใน กรณีที่ส่วน
กิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพย์ “กิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพย์” ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์อนุญาตให้บริษัทหลักทรัพย์ประกอบกิจการซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืนหรือที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดให้สถาบันการเงินที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลประกอบกิจการซื้อ หรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน และต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ (ฉบับที่ 7)
กิจการซื้อหรือขายคืนหลักทรัพย์ “กิจการซื้อขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาว่าจะมีการซื้อคืน” หมายถึง กิจการที่มีการตกลงกันระหว่างผู้ขายหลักทรัพย์ และผู้ซื้อหลัก ทรัพย์ โดยผู้ขายหลักทรัพย์ตกลงที่จะขายหลักทรัพย์ให้แก่ผู้ซื้อหลักทรัพย์ โดยมีสัญญาว่าจะมีการซื้อคืนในอนาคตในขณะเดียว กันผู้ซื้อหลักทรัพย์ตกลงที่จะซื้อหลักทรัพย์จากผู้ขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาว่าจะขายคืนในอนาคต ตามกำหนดเวลาและในราคาที่ตกลงกันไว้ล่วงหน้า ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 105) “หลักทรัพย์” หมายความว่า หลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (พรฎ. (ฉ.364) พ.ศ.2542)
กิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพย์ “เงินชดเชยเงินปันผล” หมายความว่า เงินที่ผู้ซื้อหลักทรัพย์จะต้องจ่ายให้แก่ ผู้ขายหลักทรัพย์ เนื่องจากมีการจ่ายเงินปันผลของหลักทรัพย์ที่ได้ซื้อจากผู้ขายหลักทรัพย์ และได้ถือครองไว้ก่อนที่จะขายคืนให้แก่ผู้ขายหลักทรัพย์ “เงินชดเชยดอกเบี้ย” หมายความว่า เงินที่ผู้ซื้อหลักทรัพย์จะต้องจ่ายให้แก่ ผู้ขายหลักทรัพย์ เนื่องจากมีการจ่ายดอกเบี้ยของหลักทรัพย์ที่ได้ซื้อจากผู้ขายหลักทรัพย์ และได้ถือครองไว้ก่อนที่จะขายคืนให้แก่ผู้ขายหลักทรัพย์
ธุรกิจแฟ็กเตอริง ธุรกิจแฟ็กเตอริง หมายถึง ธุรกิจที่ผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการตกลงจะโอนทรัพย์สินที่จะได้รับจากการชำระหนี้เนื่องจากการขายสินค้าหรือการให้บริการระหว่างตน กับลูกหนี้ของตนให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจแฟ็กเตอริง โดยผู้ประกอบธุรกิจแฟ็กเตอริงตกลงจะให้สินเชื่อ ซึ่งรวมถึงการให้กู้ยืมและการทดรองจ่ายแก่ผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการและรับที่จะดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ จัดให้มีบัญชีทรัพย์สินที่จะได้รับจากการชำระหนี้ เรียกเก็บทรัพย์สินที่จะได้รับจากการชำระหนี้ รับผิดชอบในหนี้ที่ลูกหนี้ของผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการผิดนัด
ผู้ประกอบธุรกิจแฟ็กเตอริง ผู้ประกอบธุรกิจแฟ็กเตอริงตามนิยามศัพท์ข้างต้น ให้หมายความรวมถึง ผู้ประกอบธุรกิจแฟ็กเตอริงอื่น ซึ่งรับโอนหรือตกลงจะรับโอนทรัพย์สินจากผู้ประกอบธุรกิจแฟ็กเตอริงดังกล่าว และรับที่จะดำเนินการตามอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ด้วย จัดให้มีบัญชีทรัพย์สินที่จะได้รับจากการชำระหนี้ หรือ เรียกเก็บทรัพย์สินที่จะได้รับจากการชำระหนี้ หรือ รับผิดชอบในหนี้ที่ลูกหนี้ของผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการผิดนัด
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก่ ผู้ประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ไม่ว่าผู้ประกอบกิจการดังกล่าวจะประกอบกิจการในรูปของ บุคคลธรรมดา คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล กองมรดก ห้างหุ้นส่วนสามัญ กองทุน หน่วยงานหรือกิจการของเอกชนที่กระทำโดยบุคคลธรรมดาตั้งแต่สองคนขึ้นไปอันมิใช่นิติบุคคล องค์การของรัฐบาล สหกรณ์ และองค์กรอื่นที่กฎหมายกำหนดให้เป็นนิติบุคคล ในกรณีผู้ประกอบกิจการอยู่นอกราชอาณาจักร ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการประกอบกิจการรวมตลอดถึง ลูกจ้าง ตัวแทน หรือผู้ทำการแทนซึ่งมีอำนาจในการจัดการแทนที่อยู่ในราชอาณาจักร เป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีร่วมกับผู้ประกอบกิจการดังกล่าวข้างต้น
การคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ จะต้องเสียภาษีโดยคำนวณภาษี (มาตรา 91/8 ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะเสียภาษีโดยคำนวณจากฐานภาษีตามมาตรา 91/5 ในเดือนภาษีของผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ตามอัตราภาษีที่กำหนดไว้ตามมาตรา 91/6 แต่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมีสิทธิอุทธรณ์การประเมินภาษีตามบทบัญญัติว่าด้วยการอุทธรณ์ในส่วน 2 หมวด 2 ลักษณะ 2)
ฐานภาษีธุรกิจเฉพาะ ฐานภาษีสำหรับการประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก่ รายรับก่อนหักรายจ่ายใด ๆ ที่ผู้ประกอบกิจการได้รับ หรือพึงได้รับเนื่องจากการประกอบกิจการ สำหรับกิจการธนาคาร กิจการธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ และธุรกิจเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ หรือกำไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ จากการซื้อหรือขายหรือที่ได้จากตั๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ และ กำไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ จากการแลกเปลี่ยนหรือซื้อขายเงินตรา การออกตั๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ หรือการส่งเงินไปต่างประเทศ สำหรับกิจการรับประกันชีวิต ได้แก่ ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม หรือค่าบริการ
ฐานภาษีธุรกิจเฉพาะ สำหรับกิจการโรงรับจำนำ ได้แก่ ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม และ เงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน หรือประโยชน์ใดๆ อันมีมูลค่าที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการขายของที่จำนำหลุดเป็นสิทธิ สำหรับกิจการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร ได้แก่ รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ ทั้งสิ้น สำหรับกิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพย์ ได้แก่ กำไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ จากการขายคืนหลักทรัพย์ แต่ไม่รวมถึง ดอกเบี้ย เงินปันผล หรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้จากหลักทรัพย์ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ (ฉบับที่ 7) สำหรับการประกอบธุรกิจแฟ็กเตอริงได้แก่ ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม หรือค่าบริการ
เกณฑ์การคำนวณรายรับเพื่อเสีย SBT มาตรา 91/8 ให้เลือกใช้เกณฑ์เงินสด หรือเกณฑ์สิทธิ เว้นแต่ การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร ดู มาตรา 50(5) และ (6) มาตรา 69 ตรี มาตรา 91/10 วรรคสี่ วรรคห้า วรรคหก
อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะมี 3 อัตรา แยกใช้กับกิจการดังนี้ ร้อยละ 0.1 สำหรับกิจการขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งปัจจุบันนี้ได้รับยกเว้น ร้อยละ 2.5 สำหรับกิจการประกันชีวิตและกิจการโรงรับจำนำ ร้อยละ 3.0 สำหรับกิจการธนาคาร กิจการธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ กิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์และกิจการขายอสังหาริมทรัพย์ การเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตามอัตราดังกล่าว จะต้องเสียภาษีท้องถิ่นอีกร้อยละ 10 ของภาษีธุรกิจเฉพาะด้วย
ฐานภาษีและอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ ประเภทกิจการ รายรับ อัตรา % กิจการธนาคาร กิจการธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ และธุรกิจเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม ค่า บริการ หรือกำไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ จากการซื้อหรือขายหรือที่ได้จากตั๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ กำไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ จากการแลกเปลี่ยนหรือซื้อขายเงินตรา การออกตั๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ หรือการส่งเงินไปต่างประเทศ 3.0 กิจการรับประกันชีวิต ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม หรือค่าบริการ 2.5 ธุรกิจแฟ็กเตอริง
ฐานภาษีและอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ ประเภทกิจการ รายรับ อัตรา % กิจการโรงรับจำนำ ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม เงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน หรือประโยชน์ใดๆ อันมีมูลค่าที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการขายของที่จำนำหลุดเป็นสิทธิ 2.5 กิจการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม หรือค่าบริการ 3.0 กิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพย์ กำไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ จากการขายคืนหลักทรัพย์ แต่ไม่รวมถึง ดอกเบี้ย เงินปันผล หรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้จากหลักทรัพย์
ผู้ประกอบกิจการมีหน้าที่คำนวณเงินภาษีอากรที่ต้องชำระดังนี้ ภาษีอากรที่ต้องชำระทั้งสิ้น = ภาษีธุรกิจเฉพาะ + ภาษีท้องถิ่น ภาษีธุรกิจเฉพาะ = ฐานภาษี x อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีท้องถิ่น = ร้อยละ 10 ของภาษีธุรกิจเฉพาะ
การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ การยกเว้นตามประมวลรัษฎากร กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ ตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 91/3 แห่งประมวลรัษฎากร คือ กิจการของธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ กิจการของบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กิจการของสหกรณ์ออมทรัพย์เฉพาะการให้กู้ยืมแก่สมาชิกหรือแก่สหกรณ์ออมทรัพย์อื่น กิจการของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กิจการของการเคหะแห่งชาติ เฉพาะการขายหรือให้เช่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ กิจการรับจำนำของกระทรวง ทบวง กรม และราชการส่วนท้องถิ่น
การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกา การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 10) พ.ศ.2500 ดังต่อไปนี้ เศษของบาทจากการคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะแก่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเฉพาะ (มาตรา 5) สำหรับการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดินโดยไม่มีค่าตอบแทนให้แก่วัด วัดบาดหลวงโรมันคาธอลิค หรือมัสยิด ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ทั้งนี้ เฉพาะการโอนที่ดินส่วนที่ทำให้วัด วัดบาทหลวงโรมันคาธอลิค หรือมัสยิด มีที่ดินไม่เกินห้าสิบไร่ (มาตรา 5 ปัณรส แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 326))
การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 10) - ต่อ มาตรา 5 เตรส (ใช้บังคับ 23 พฤษภาคม 2540 ถึงวันที่ 17 เมษายน 2552) (1) การขายอสังหาริมทรัพย์ของผู้ประกอบกิจการให้แก่องค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์หรือบริษัทจำกัดที่สถาบันการเงินตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2540 ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อดำเนินการบริการสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์โดยความเห็นชอบของธนาคารแห่งประเทศไทย (2) การขายอสังหาริมทรัพย์ขององค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์หรือของบริษัทจำกัดที่สถาบันการเงินตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2540 ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อดำเนินการบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์โดยความเห็นชอบของธนาคารแห่งประเทศไทย (แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 303) พ.ศ.2540 ยกเลิกโดยพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 454) พ.ศ.2549)
การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 10) - ต่อ สำหรับรายรับจากการขายอสังหาริมทรัพย์ที่ผู้ขายมีไว้ในการประกอบกิจการ เฉพาะการโอนอสังหาริมทรัพย์อันเนื่องมาจากการที่ผู้ประกอบกิจการซึ่งเป็นบริษัทมหาชนจำกัด หรือบริษัทจำกัดควบเข้ากันหรือโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กัน ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด (มาตรา 5 โสฬส แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 330) พ.ศ. 2541 ใช้บังคับ 17 ตุลาคม 2541 เป็นต้นไป) การควบเข้ากันหรือการโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กันของบริษัทมหาชน จำกัดหรือบริษัทจำกัด จะต้องมีลักษณะและหรือเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร ลงวันที่ 27 กันยายน 2542) (1) ต้องเป็นการควบเข้ากันหรือโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กันของบริษัท มหาชน จำกัด และบริษัทจำกัด ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (2) ให้บริษัทมหาชน จำกัด หรือบริษัทจำกัด อันได้ตั้งขึ้นใหม่ด้วย ควบเข้ากันนั้น และบริษัทมหาชน จำกัด หรือบริษัท
การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 10) - ต่อ จำกัดผู้รับโอน แจ้งรายชื่อผู้ถือหุ้น จำนวนหุ้นและมูลค่าหุ้น ตามทะเบียนหุ้นทั้งของต่างบริษัทที่ควบเข้ากัน บริษัทที่ตั้งใหม่ บริษัทผู้โอน และบริษัทผู้รับโอน ต่ออธิบดีกรมสรรพากรภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้จดทะเบียนเป็นบริษัทใหม่ กรณีควบ หรือนับแต่วันจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงกรณีโอน ตามแบบที่อธิบดีกำหนด ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่ ซึ่งเป็นที่ตั้งของบริษัทมหาชน จำกัด หรือบริษัทจำกัด อันได้ตั้งขึ้นใหม่ด้วย ควบเข้ากัน และบริษัทมหาชน จำกัด หรือบริษัทจำกัด ผู้รับโอน แล้วแต่กรณี (3) บริษัทที่ควบเข้ากัน และบริษัทผู้โอนหรือผู้รับโอนจะต้องไม่เป็นลูกหนี้ภาษีอากรค้างของกรมสรรพากร ณ วันที่ควบหรือวันที่โอน เว้นแต่ได้จัดให้มีธนาคารหรือหลักทรัพย์ค้ำประกันหนี้ภาษีอากรค้างและค่าใช้จ่ายในการบังคับหนี้ดังกล่าวแล้ว
การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 10) - ต่อ (4) กรณีการโอนกิจการให้แก่กัน บริษัทผู้โอนกิจการต้องจดทะเบียนเลิกและมีการชำระบัญชีในรอบระยะเวลาบัญชีที่โอนกิจการนั้น (5) ในกรณีที่มีปัญหาในการปฏิบัติ ให้อธิบดีกรมสรรพากรมีอำนาจวินิจฉัย และคำวินิจฉัยของอธิบดีกรมสรรพากร ให้ถือเป็นหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดตามประกาศนี้ด้วย โดยกำหนดแบบสำหรับการแจ้งรายการกรณีการควบเข้ากันหรือโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กันของบริษัทมหาชนจำกัดหรือบริษัทจำกัด เพื่อยกเว้นรัษฎากร ดังต่อไปนี้ (1) แบบ ค.อ.1 แบบแจ้งรายชื่อผู้ถือหุ้นและแจ้งการเป็นลูกหนี้ค่าภาษีอากรสำหรับการควบเข้ากันหรือโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กันของบริษัทมหาชนจำกัดหรือบริษัทจำกัด
การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 10) - ต่อ (2) แบบ ค.อ.2 แบบแจ้งรายชื่อบริษัทที่ควบเข้ากันหรือโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กันของบริษัทมหาชนจำกัดหรือบริษัทจำกัด (3) แบบ ค.อ.3 แบบแจ้งรายชื่อผู้ถือหุ้นสำหรับการควบเข้ากันหรือโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กันของบริษัทมหาชนจำกัดหรือบริษัทจำกัด (4) แบบ ค.อ.4 แบบแจ้งการเป็นลูกหนี้ค่าภาษีอากรสำหรับการควบเข้ากันหรือโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กันของบริษัทมหาชนจำกัดหรือบริษัทจำกัด มาตรา 5 เอกวีสติ ให้ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ สำหรับรายรับจากการขายอสังหาริมทรัพย์ที่ผู้ขายมีไว้ในการประกอบกิจการ เฉพาะการขายอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นโรงงานพร้อมที่ดินของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเพื่อย้ายสถานประกอบการเข้าไปอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมเป็นจำนวนไม่เกินมูลค่าของอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นโรงงานพร้อมที่ดินแห่งใหม่และย้ายโรงงานเข้าไปในนิคม
การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 10) - ต่อ อุตสาหกรรมเพื่อใช้เป็นสถานประกอบการแห่งใหม่ภายในกำหนดเวลาหนึ่งปีก่อนหรือหลังวันที่ทำสัญญาขายอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นโรงงานพร้อมที่ดินแห่งเดิม โดยต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 มูลค่าของอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นโรงงานพร้อมที่ดินแห่งใหม่ ให้ถือตามราคาประเมินทุนทรัพย์เพื่อเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ (ฉบับที่ 10)
การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 240) พ.ศ.2534 ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2535 สำหรับกิจการดังต่อไปนี้ กิจการขายหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย์ กิจการของบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม กิจการของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม กิจการของธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 240) - ต่อ กิจการขายอสังหาริมทรัพย์เฉพาะที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตามมาตรา 91/2(6) (การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร ไม่ว่าอสังหาริมทรัพย์นั้นจะได้มาโดยวิธีใดก็ตาม ทั้งนี้ เฉพาะที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 342) พ.ศ.2542) การรับไถ่อสังหาริมทรัพย์จากการขายฝากหรือ จากการขายฝากโดยการวางทรัพย์ต่อสำนักงานวางทรัพย์ภายในเวลาที่กำหนด การขายอสังหาริมทรัพย์ภายหลังที่ได้ไถ่จากการขายฝาก ซึ่งเมื่อรวมระยะเวลาการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ก่อนการขายฝาก และระยะเวลาหลังจากการขายฝากแล้วเกินห้าปี กำหนด แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 365)
ได้รับดอกเบี้ย บ. A. จก. บุคคลใดๆ เงินกู้ยืม Y Non SBT N Y Non SBT ป. 26/2534 Staff Welfare Fund Y Non SBT N Finance Institute Y Non SBT WT 1% N - 25% Holder - at least 6 ms before loan Affiliated Co. Y Non SBT WT 1% N - Board - Shareholders - Customers Others Y SBT 3.3% WT 1% ?
วิธีการเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ การยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะ ผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก่ บุคคลซึ่งประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ โดยกิจการนั้นไม่ได้รับยกเว้น ภาษีธุรกิจเฉพาะ ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการประกอบกิจการในราชอาณาจักรของผู้ประกอบกิจการอยู่นอกราชอาณาจักร ลูกจ้าง ตัวแทน หรือผู้ทำการแทนซึ่งมีอำนาจในการจัดการแทนโดยตรงหรือโดยปริยายที่อยู่ในราช อาณาจักรของผู้ประกอบกิจการที่อยู่นอกราชอาณาจักร
วิธีการเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ แบบแสดงรายการที่ใช้ ได้แก่ แบบ ภ.ธ.40 (มาตรา 91/10) กำหนดเวลาในการยื่นแบบแสดงรายการภาษี ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ มีหน้าที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการ และชำระภาษีโดยใช้แบบ ภ.ธ.40 (แสดงประเภทของกิจการ จำนวนรายรับ จำนวนภาษีธุรกิจเฉพาะ และภาษีท้องถิ่นอีกร้อยละ 10 ของภาษีธุรกิจเฉพาะ) ยื่นแบบแสดงรายการเป็นรายเดือนภาษี ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ไม่ว่าจะมีรายรับในเดือนนั้น หรือไม่ก็ตาม ภาษีในเดือนภาษีใด เมื่อรวมคำนวณแล้วมีจำนวนไม่ถึง 100บาท ผู้ประกอบกิจการไม่ต้องเสียภาษีสำหรับ เดือนภาษีนั้น แต่ยังคงมีหน้าที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการตามปกติ (มาตรา 91/17)
วิธีการเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี ผู้ประกอบกิจการจะต้องยื่นแบบ ภ.ธ.40 พร้อมกับชำระภาษี (ถ้ามี) ณ สถานที่ดังต่อไปนี้ ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (เขต/อำเภอ) ในท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ หรือสถานที่อื่นซึ่งอธิบดีกรมสรรพากรกำหนดให้เป็นสถานที่ยื่นแบบและชำระภาษี ในเขตจังหวัดอื่น ให้ยื่น ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (อำเภอ/กิ่งอำเภอ) ในท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ หรือสถานที่อื่นซึ่งอธิบดีกรมสรรพากรกำหนดให้เป็นสถานที่ยื่นแบบและชำระภาษี หมายเหตุ การยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษี สามารถยื่นผ่านเว็บไซต์ของกรมสรรพากรได้
การขอคืนภาษีธุรกิจเฉพาะ ผู้มีสิทธิขอคืนภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก่ ผู้ประกอบกิจการที่มีหน้าที่เสียภาษี ซึ่งได้ชำระภาษีไว้เกินหรือผิด หรือซ้ำ ผู้ไม่มีหน้าที่เสียภาษีแต่ได้ชำระภาษีไว้ ให้ผู้มีสิทธิขอคืนเงินภาษีใช้คำร้องขอคืนเงินภาษีอากร คือ แบบ ค.10 การยื่นคำร้องขอคืนเงินภาษีธุรกิจเฉพาะ ตามแบบ ค.10 จะต้องแนบเอกสารที่เกี่ยวข้องไปพร้อมกับคำร้อง ด้วยได้แก่ หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล กรณีผู้ขอคืนเป็นนิติบุคคล ใบเสร็จรับเงินภาษีธุรกิจเฉพาะ หลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ขอคืน ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ มีสิทธิยื่นคำร้องขอคืนเงินภาษีภายใน 3 ปีนับแต่วันพ้นกำหนดเวลายื่น แบบแสดงรายการภาษี
แนวทางในการวางแผนภาษีธุรกิจเฉพาะ 1. SBT เป็นภาษีที่จัดเก็บจากรายได้ และเป็นภาษีทางเลือกของ SBT จึงต้องพิจารณาว่ารายได้ประเภทนั้นๆ อยู่ในข่ายต้องเสีย SBT หรือ SBT 2. กรณีรายได้นั้นต้องเสีย SBT ให้พิจารณาฐานภาษี อัตราภาษี วิธีการเสียภาษี และหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง 3. พิจารณาช่องโหว่และสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่เกี่ยวข้องกับ SBT
สวัสดี