Top 10 ไวยากรณ์ที่นักศึกษาใช้ผิดบ่อยมาก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
A Batteryless RFID Remote Control System
Advertisements

ข้อปฏิบัติสำหรับกรรมการ ตรวจกระดาษคำตอบ ก่อนตรวจ ตรวจสอบหน้าที่ ตามวันและเวลา ของการตรวจ กระดาษ คำตอบ 2. ให้เฉพาะผู้ที่มี หน้าที่เท่านั้นตรวจ กระดาษคำตอบ.
แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
Introductory to Numerical Analysis การวิเคราะห์เชิงตัวเลขเบื้องต้น
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
โครงสร้างข้อมูลสแตก มีลักษณะเป็นรายการในแนวเชิงเส้น(Linear List)รูปแบบหนึ่ง และมีข้อกำหนดให้ชุดปฏิบัติการสามารถเพิ่มและลบรายการเพียงด้านเดียว ซึ่งเป็นด้านบนสุดของสแตก(Top.
DFD Level 0 เป็นขั้นตอนการสร้าง DFD โดยการแตกแยกย่อย Process ออกมาเป็น Process ย่อย ๆ และแสดงแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด Aj.Wichan Hongbin.
สอนให้ศิษย์ เก่ง ดี มีสุข รศ.นพ.สุชาติ อารีมิตร.
User Defined Simple Data Type
6. โครงสร้างข้อมูลแบบแฟ้ม
ตัวอย่าง Flowchart.
Program Flow Chart.
LAB # 4 Computer Programming 1 1. พิจารณาโปรแกรมต่อไปนี้
LAB # 3 Computer Programming 1
LAB # 4.
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
ลิมิตและความต่อเนื่อง
Lab 8: คำสั่ง Do-While อ.ณัฐพงศ์ พยัฆคิน.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
บรรยายครั้งที่ 2: Stack
SCC : Suthida Chaichomchuen
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง (ทาโร ยามาเน่) n=N/1+N(e)2
คำสั่ง Repeat...Until คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ
แบบฝึกทักษะ เรื่อง กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
การคิดและการตัดสินใจ
Repetitive Or Iterative
While by Accords (IT SMART CLUB 2006) by Accords 1.
2.5 ตัวแปรชุดมิติเดียวและตัวแปรชุดสองมิติ
กศน. สบเมย.. คณิตศาสตร์สุดหรรษา การบวก ลบ คูณ หารระคน.
บทที่ 4 Method (1).
Chapter 5 คำสั่งควบคุมการทำซ้ำ
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
เรื่อง การคำนวณข้ามชีท โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม Do Loop Until โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม
While.. loop.
การเขียนผังงาน ผังงานคือ อะไร ?.
Computer Programming for Engineers
หน่วยที่ 2 วิธีการคิดคำสุทธิ เนื้อหา จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
Control Statements.
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
เทคนิคการตั้งคำถามที่ดี (Using Effective Question Techniques)
ใบงาน 1. ให้นักเรียนคัดลอกเนื้อหาและตัวอย่างเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาและการจำลองความคิดตั้งแต่สไลด์ที่ 2-11 ลงในสมุด (ถ้าไม่มีให้ทำในกระดาษสมุด1คู่) 2.
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multi-view Projection)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND
คำสั่งวนซ้ำ นายมาโนชญ์ แสงศิริ ครูผู้ช่วย โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม
อัลกอริทึ่มทำงานวนซ้ำ
อ. วชิระ หล่อประดิษฐ์. ตัว ดำเนินกา ร ศัพท์เฉพาะตัวอย่ าง ผลลัพธ์ ให้ a=3; b=2; Greater thana > b;True
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
Idioms Online By Nicky. Idioms Online By Nicky.
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
โครงสร้างข้อมูลและอังกอลิทึม
3  + _ .
Computer programming languages รายวิชา เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบและ เทคโนโลยีเกิดใหม่ สมาชิก 1 นางสาวพิธัญญา พิรุณสุนทร รหัสนักศึกษา นายณัฐพงษ์
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
บทที่ 5 Function. Function Function เป็นการแบ่งโค้ดโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อทำงานบางอย่าง - โค้ดโปรแกรมเรียงต่อกันยาว - สามารถเรียกใช้ Function ซ้ำได้
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
Flowchart การเขียนผังงาน.
จัดทำโดย นางสุภัสสรา พลซักซ้าย 1 มิถุนายน 2556
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) บทที่ 2: ทบทวนการเขียน ภาษา Java ใช้ร่วมกับ Html และการรับข้อมูลจาก Form.
Week 5 While and Do-While loop (Control Structure 2)
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารช่วยให้การทำงานรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ จัดทำโดย ด. ญ. อลิสา เพชรผสมทอง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 10 ด. ญ. ศิริรัชน์ วงจันแก้ว.
Looping ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
โครงการ ประชุมเชิง ปฏิบัติการ ขยายเครือข่าย เรื่อง... “ การจัดระบบบริการ แบบครบวงจร ( o ne s top c risis c enter) สำหรับเด็กและสตรีที่ได้รับ ความรุนแรง.
งานสารบรรณ บุญช่วย แสงตะวัน.
สัญญา หลักประกันและ การบริหารสัญญา
การประยุกต์เข้ากับวงจรทางคณิตศาสตร์
เทคนิคการตรวจรับ และ ควบคุมงาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Top 10 ไวยากรณ์ที่นักศึกษาใช้ผิดบ่อยมาก ต้องการคำนวณ 1+3+5+7+…+n (สมมุติให้ n เป็นเลขคี่) ตัวอย่างที่ผิด ตัวอย่างที่ถูก sum := 0; i ;= 1; while i<n do sum := sum + i; i := i + 2; writeln(‘sum = ‘,sum); sum := 0 i ;= 1; while i<n do begin sum := sum + i; i := i + 2; end; Writeln(‘sum = ‘,sum); ตามหลังคำว่า Do นักศึกษาชอบลืมใส่ begin กับ end ในเวลาที่เราต้องการให้ มีหลายๆคำสั่งใน statement หลัง do

Top 10 ไวยากรณ์ที่นักศึกษาใช้ผิดบ่อยมาก ตัวอย่างที่ผิด ตัวอย่างที่ถูก If (nbook <= 100)and(nbook>0) then totalprice := nbook*price; writeln(‘No discount’); else if nbook <= 500 then totalprice := 0.95*nbook*price; writeln(‘Discount 5%’); else if nbook > 500 then totalprice := 0.9*nbook*price; writeln(‘Discount 10%’); If (nbook <= 100)and(nbook>0) then begin totalprice := nbook*price; writeln(‘No discount’); end else if nbook <= 500 then totalprice := 0.95*nbook*price; writeln(‘Discount 5%’); else if nbook > 500 then totalprice := 0.9*nbook*price; writeln(‘Discount 10%’); end; ตามหลัง then ถ้ามีหลายคำสั่ง จะต้อง ขึ้นต้นด้วย begin และจบด้วย end

Top 10 ไวยากรณ์ที่นักศึกษาใช้ผิดบ่อยมาก ตัวอย่างที่ผิด ตัวอย่างที่ถูก If (nbook <= 100)and(nbook>0) then totalprice := nbook*price; else if nbook <= 500 then totalprice := 0.95*nbook*price; else if nbook > 500 then totalprice := 0.9*nbook*price; If (nbook <= 100)and(nbook>0) then totalprice := nbook*price else if nbook <= 500 then totalprice := 0.95*nbook*price else if nbook > 500 then totalprice := 0.9*nbook*price; สอง Program นี้คล้ายกันมาก แต่ Program ทางซ้ายมือมีเครื่องหมาย ; ในที่ที่ไม่ควรจะมี เพราะว่าคำสั่ง if – then – else if –then –else if – then ถือเป็นคำสั่งเดียวจะต้อง ใช้ ; ปิดตอนท้ายสุดเท่านั้น

Top 10 ไวยากรณ์ที่นักศึกษาใช้ผิดบ่อยมาก ตัวอย่างที่ผิด ตัวอย่างที่ถูก If 0< n <= 100 then totalprice := n*price else if 100 < n <= 500 then totalprice := 0.95*n*price else if n > 500 then totalprice := 0.9*n*price; If (0<n) and (n <= 100) then totalprice := n*price; else if (100 < n) and (n <= 500) then totalprice := 0.95*n*price; else if n > 500 then totalprice := 0.9*n*price; นักศึกษาชอบเขียนเงื่อนไขเป็น 100 < n <= 500 ซึ่งในทางคณิศาสตร์ไม่ผิด แต่ในทางภาษา Pascal ผิดไวยากรณ์ ที่ถูกต้องแก้เป็น (100<n) and (n<=500) ตัวอย่างที่ผิด ตัวอย่างที่ถูก For 1 to n Do …. For i := 1 to n Do …. บางทีลืมใส่ตัวแปรในคำสั่ง for

Top 10 ไวยากรณ์ที่นักศึกษาใช้ผิดบ่อยมาก ตัวอย่างที่ผิด Case n of n <= 100 : totalprice := price*n; n > 100 and n <= 500 : totalprice := price*n*0.95; n > 500 : totalprice := price*n*0.9; End; ตัวอย่างที่ถูก Case n of 1..100 : totalprice := price*n; 101..500 : totalprice := price*n*0.95; Else if n>500 then totalprice := price*n*0.9; End; เราไม่สามารถนำการเปรียบเทียบ เช่น n<=100 มาเป็นเงื่อนไข ของคำสั่ง case ได้ เงื่อนไขของคำสั่ง case จะต้องเป็น มีค่าเป็นเลข integer, นิพจน์ทางเลขที่ มีผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็ม หรือ character

Top 10 ไวยากรณ์ที่นักศึกษาใช้ผิดบ่อยมาก ตัวอย่างที่ถูก ตัวอย่างที่ไม่ดี If totalprice < 500 then totalprice := 500 else totalprice := totalprice; If totalprice < 500 then totalprice := 500; คำสั่งนี้ไม่ผิด แต่ไม่มีประโยชน์ If (n<= 100)and(n>0) then begin totalprice := n*price; writeln(‘Total price=‘,totalprice); end else if n <= 500 then totalprice := 0.95*n*price; If (n<= 100)and(n>0) then begin totalprice := n*price; end else if n <= 500 then totalprice := 0.95*n*price; End writeln(‘Total price=‘,totalprice); สองคำสั่งนี้เหมือนกันทุกประการสามารถยุบ เป็นคำสั่งเดียวได้โดยวางไว้นอกคำสั่ง if

Top 10 ไวยากรณ์ที่นักศึกษาใช้ผิดบ่อยมาก ตัวอย่างที่ถูก ตัวอย่างที่ผิด Program MyFirstprogram; Var x,y:real; age:integer; Begin readln(‘x’, ‘y’); readln(‘age’); writeln(‘age = ’,age); End. Program MyFirstprogram; Var x,y:real; age:integer; Begin readln(x, y); readln(age); writeln(‘age = ‘,age); End. บางคนสับสนระหว่าง ชื่อตัวแปรกับ ข้อความ ชื่อตัวแปรไม่ต้องมี ‘ ’ ปิดล้อมไว้ ถ้ามี ‘ ’ ปิดล้อมไว้ จะหมายถึง ข้อความ คำสั่ง readln ใช้กับชื่อตัวแปร

Top 10 ไวยากรณ์ที่นักศึกษาใช้ผิดบ่อยมาก ตัวอย่างที่ผิด Repeat write(‘Please enter number : ’); readln(n); …. write(‘Do you want to play again?); readln(ch); Until ch = ‘N’ or ‘n’; ตัวอย่างที่ถูก Repeat write(‘Please enter number : ’); readln(n); …. write(‘Do you want to play again?); readln(ch); Until ch = ‘N’ or ch = ‘n’; ระวัง เรื่องเงื่อนไขสองเงื่อนไข