สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
กลุ่มที่ 3 กลุ่มจังหวัดที่ 6.1 กลุ่มจังหวัดที่ 6.2 กลุ่มจังหวัดที่ 6.3 กลุ่มจังหวัดที่ 7.1 กลุ่มจังหวัดที่ 7.2.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
 ความคืบหน้าการจัดงานเสนอผลงานวิชาการและงาน เกษียณชมรมผู้บริหารฯทางการพยาบาลแห่งประเทศ ไทย › สวัสดิการของสมาชิก  เรื่องจากสภาการพยาบาล › การจัดตั้งสำนักงานสภาการพยาบาลประจำจังหวัดและ.
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
กลุ่มที่ 1 กลุ่มภาคเหนือและภาคตะวันออก
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
กลุ่มที่ 1 ศูนย์สารสนเทศด้านสาธารณสุขและสุขภาพ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ มีความเข้มแข็งสามารถชี้นำทิศทาง นโยบายและเป็นคลังสมองของ.
สรุปการประชุม เขต 10.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค

ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับ ภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด มีความจำเป็น เครือข่ายภาคประชาชนในระดับจังหวัดใน ปัจจุบันยังไม่มีความเข้มแข็ง บางจังหวัดยังไม่มี เครือข่าย ก.พ.ร. ควรสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายใน จังหวัดก่อน กำหนดขั้นตอนและการวัดผลให้ ชัดเจน เพื่อสามารถเชื่อมโยงเครือข่ายจาก ระดับจังหวัดสู่ระดับภาคได้

องค์ประกอบ/โครงสร้าง และการได้มาของสมาชิก เครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค ควรเป็นรูปแบบใด องค์ประกอบมาจาก 3 ส่วน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน องค์ประกอบมาจาก กบจ. หรือส่วนอื่นๆ ที่ ทำงานอยู่แล้วโดยเพิ่มสัดส่วนของภาค ประชาชน/เอกชนให้มีจำนวนมากขึ้น องค์ประกอบของเครือข่ายที่เป็นภาครัฐ และ อปท. ควรกำหนดบทบาทให้เป็น ผู้สนับสนุน หรือที่ปรึกษา

องค์ประกอบ/โครงสร้าง และการได้มาของสมาชิก เครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค ควรเป็นรูปแบบใด การได้มาซึ่งเครือข่าย ต้องเป็นผู้แทนที่มาจาก เครือข่ายในพื้นที่อย่างแท้จริง การได้มาซึ่งเครือข่ายบางครั้ง ผู้แทนเครือข่ายที่ได้มา ไม่ใช่ตัวแทนของพื้นที่อย่างแท้จริง ทำให้การทำงาน ร่วมกันไม่เกิดความต่อเนื่อง องค์ประกอบเครือข่ายระดับภาค ควรเป็นคณะที่ไม่ใช่ ตัวแทนเครือข่ายในระดับจังหวัด เนื่องจากจะเกิดภาระ งานที่ซ้ำซ้อน คุณสมบัติไม่ควรกำหนดที่เฉพาะเกินไป เนื่องจากต้อง เป็นบุคลากรที่เป็นที่ยอมรับ และสามารถให้คำปรึกษา ในเรื่องต่างๆ ได้

เครือข่ายภาคประชาชนในระดับภูมิภาคควรมีบทบาท หน้าที่ และวิธีการดำเนินงานควรเป็นอย่างไร วัตถุประสงค์ในการตรวจสอบควรเน้นการทำงานร่วมกัน บทบาทหน้าที่ของเครือข่ายควรเป็นการแลกเปลี่ยน เรียนรู้การทำงานร่วมกัน เป็นแบบไม่เป็นทางการ มิใช่ การกำกับ ตรวจสอบ ส่วนสำคัญในการทำงานคือ “ใจ” ในลักษณะกัลยาณมิตร

การสนับสนุน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาค ประชาชนในระดับภูมิภาคควรได้มาอย่างใด การดำเนินงานของเครือข่ายควรกำหนดงบประมาณ สนับสนุนในการทำงาน กำหนดเจ้าภาพหลักที่ชัดเจน เพื่อเกิดการทำงานที่ต่อเนื่อง ลักษณะการทำงานและรวมตัวของเครือข่าย เมื่อได้ ทำงานบรรลุวัตถุประสงค์แล้ว ก็สลายตัวไม่เกิดความ ยั่งยืน ควรกำหนดภาครัฐ(สำนักงานจังหวัด) ให้เป็น หน่วยประสานงาน ควรกำหนดตัวชี้วัดที่ชี้ถึงความก้าวหน้า ความต่อเนื่อง การดำเนินงานของเครือข่ายร่วมกับจังหวัด

การสนับสนุน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาค ประชาชนในระดับภูมิภาคควรได้มาอย่างใด การสร้างเครือข่ายให้เข้มแข็ง มั่นคง ควรเน้น กระบวนการทำงานของเครือข่ายระดับจังหวัดเพื่อ สามารถเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายระดับภาคได้อย่าง เข้มแข็ง หน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคมีตัวชี้วัดการทำงานที่ ชัดเจน แต่ไม่มีกลไกที่เอื้อให้ทำงานได้อย่างสะดวก เช่น การจัดตั้งคณะทำงาน ควรมอบอำนาจในการตรวจสอบแก่ประชาชนให้ชัดเจน รวมถึงควรกำหนดค่าตอบแทนในการทำงาน

กำหนดตัวชี้วัดจาก ก.พ.ร. ให้ชัดเจนเพื่อให้ภาครัฐ พัฒนาเครือข่ายในจังหวัดให้ทำงานได้อย่างยั่งยืน เมื่อมีงบประมาณในการสนับสนุนเครือข่าย หน่วยงาน ใดจะรับผิดชอบให้เกิดความทั่วถึง และเป็นธรรม ในทุก เครือข่ายของทุกหน่วยงาน ควรกำหนดงบประมาณจากสำนักนายกรัฐมนตรี เพื่อ การสนับสนุนการทำงานของเครือข่ายอย่างชัดเจน ประเด็นความคิดเห็น การสนับสนุน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาค ประชาชนในระดับภูมิภาคควรได้มาอย่างใด

หน่วยงานที่เป็นเจ้าภาพประสานการทำงานของ เครือข่ายควรเป็นหน่วยงานที่ไม่เป็นทางการ หรือเป็น สถาบันทางการศึกษา ที่สามารถดำเนินงานได้ด้วย ตนเอง สำนักงาน ก.พ.ร. ควรกำหนดหลักการ การได้มา คุณสมบัติ วาระการดำรงตำแหน่ง ข้อบังคับ และอื่นๆ ของเครือข่ายให้ชัดเจน ประเด็นความคิดเห็น การสนับสนุน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาค ประชาชนในระดับภูมิภาคควรได้มาอย่างใด

คณะกรรมการเครือข่ายในระดับภาคควรเป็นปราชญ์ เป็นผู้รู้ในแต่ละสาขาอย่างแท้จริง สามารถขับเคลื่อน ได้ในทั้งระดับจังหวัด และระดับภูมิภาค สามารถ กำหนดนโยบายให้แก่เครือข่ายในระดับจังหวัดได้ ให้ คำปรึกษาแนะนำแก่จังหวัดได้ การดำเนินงานของเครือข่ายในระดับภาคจะมีกิจกรรม อย่างไรให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่อง มีประเด็น การทำงานที่ร่วมกัน การสนับสนุน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาค ประชาชนในระดับภูมิภาคควรได้มาอย่างใด

ขอบคุณค่ะ