การสื่อสารภายในองค์การ 412 364
การบริหารความขัดแย้งภายในองค์การ
Crisis Management A I C
แบบจำลองการสื่อสารประชาสัมพันธ์ แบบจำลองการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร (The Publicity Model) การกระจายข้อมูลข่าวสาร ผู้ส่งสาร ผู้รับสาร
แบบจำลองการสื่อสารประชาสัมพันธ์ แบบจำลองสองทางไม่สมดุล (The Two-Way Asymmetric Model) สื่อสารโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการโน้มน้าวใจ ผู้ส่งสาร ผู้รับสาร ข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับผู้รับสาร
แบบจำลองการสื่อสารประชาสัมพันธ์ แบบจำลองสองทางสมดุล (The Two-Way Symmetric Model) การสื่อสารสมดุล ผู้ส่งสาร ผู้รับสาร
ทฤษฎี A B X System : Theodore M. Newcomb
ความขัดแย้งในองค์การ (Organizational Conflict) เมื่อคนแต่ละคนมาอยู่ร่วมกัน ทำกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน จะมีความคิดเห็นต่างกัน มีวิธีการคิดที่ไม่เหมือนกัน ค่านิยมอคติ การรับรู้ ผลประโยชน์ เกิดจากการแบ่งทรัพยากรและงบประมาณมีจำนวนจำกัด หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงเทคนิคในการทำงาน ความแตกต่างในหน้าที่การทำงาน ล้วนเป็นสาเหตุที่จะทำให้เกิดความขัดแย้งได้ทั้งสิ้น
แนวคิดหรือทัศนะเกี่ยวกับความขัดแย้ง แนวคิดเดิม ถือว่าความขัดแย้งเป็นสิ่งที่ไม่จำเป็น และเป็นผลร้ายทั้งในส่วนบุคคลและองค์การ ถือว่าความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติที่มีในสังคม และเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ มีทั้งคุณและโทษ ความขัดแย้งจึงมิใช่สิ่งแปลกประหลาดหรือสิ่งที่น่ารังเกียจแต่เป็นสิ่งที่ควรศึกษาให้เข้าใจจนสามารถใช้ประโยชน์จากความขัดแย้งได้ แนวคิดใหม่
ความขัดแย้งเป็นเครื่องหล่อเลี้ยง ความขัดแย้งบางอย่างจำเป็นต้องมีเพื่อเป็นการกระตุ้นให้องค์การไม่เฉื่อยชา และมีการเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นแต่ความขัดแย้งนั้นจะต้องอยู่ในระดับที่พอเหมาะไม่สูงหรือต่ำเกินไป
ความขัดแย้งมีทั้งคุณ และ โทษ องค์การเจริญ สร้างสรรค์สามัคคี No progress without conflict ความขัดแย้ง เป็นปัญหา แตกสามัคคี องค์การเสื่อม