การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
การบริหารกลุ่มและทีม
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
บทบาทหน้าที่ของ HR ยุคใหม่
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รายงานการประเมินตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
โดย ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
โครงการพัฒนาบุคลากรที่มีศักยภาพสูง Talent Management
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
Participation : Road to Success
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
หลักการเขียนโครงการ.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน การชี้แจง เรื่อง การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน วันที่ 3 สิงหาคม 2550 ณ ห้องประชุม 1 ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Agenda Framework ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ระบบการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน ประกาศที่เกี่ยวข้อง ปฏิทินการดำเนินการ Mind Map

การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล การใช้ทรัพยากรบุคคลอย่างมีประสิทธิผลเพื่อให้การบริหารองค์กรบรรลุตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ การสนองตอบต่อความพึงพอใจและความต้องการของบุคลากรในหน่วยงาน การพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพของผลการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล

ผลลัพธ์ของ HRM เป้าหมายของมหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร์ โครงสร้าง วัฒนธรรม โครงสร้าง วัฒนธรรม มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล What is to be achieved ยุทธศาสตร์ HRM How it is to be achieved การประเมินผล Evaluation of performance กิจกรรม HRM การสรรหาคัดเลือก การจ้าง การพัฒนา การประเมิน การจูงใจและการรักษา การวินัยและอุทธรณ์ การเลิกจ้างและต่อสัญญาจ้าง ผลลัพธ์ของ HRM ผลการปฏิบัติงาน ความสามารถและทักษะ ความมุ่งมั่น การปรับตัว ความคุ้มค่า ความพึงพอใจในงาน

การเชื่อมโยงเป้าหมายขององค์กรกับเป้าหมายและผลการปฏิบัติงานของบุคลากร เป้าหมายของการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เป้าหมายของหน่วยงานและบุคลากร กำหนดภารกิจของบุคลากรเพื่อ ตอบสนองเป้าหมาย ระบุผลงานที่ต้องปรับปรุงและ ความต้องการการพัฒนา กำหนดดัชนีชี้วัดผลงานที่เห็นพ้องกันระหว่างหน่วยงานและบุคลากร ประเมินผลงาน (ดีมาก, พอใช้ หรือต้องปรับปรุง) การให้รางวัล/ผลตอบแทน

ระบบการพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยขอนแก่น นโยบายของมหาวิทยาลัย เป้าหมายการพัฒนาบุคลากร การจัดสรรงบประมาณที่พอเพียงและยั่งยืน รูปแบบการพัฒนาบุคลากร การติดตามและประเมินผล ความต้องการของบุคลากรและหน่วยงาน มาตรฐานการปฏิบัติงานและความก้าวหน้าในสายงาน การไปเพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการ การฝึกอบรมจากหน่วยงานอื่น การฝึกอบรมโดยมหาวิทยาลัยจัดให้ การฝึกอบรมโดยคณะ/หน่วยงานจัด ระบบการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน การศึกษาต่อ การศึกษาดูงาน การเข้าร่วมประชุม/สัมมนา

เพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน KKU Performance Management System ระบบการบริหารจัดการ

วัตถุประสงค์ พัฒนาคุณภาพและศักยภาพของบุคลากรให้สอดคล้องกับเป้าหมายและบทบาทของหน่วยงานและองค์กร ให้มีการสื่อสารระหว่างบุคลากรกับหัวหน้างานเกี่ยวกับความคาดหวังในผลการปฏิบัติงาน ความพึงพอใจในงาน ระดับความยากง่ายของงาน ให้มีการทบทวนและประเมินความสำเร็จในงานที่ทำและผลที่ได้รับ เปรียบเทียบกับผลที่คาดว่าจะได้รับ ในสภาพเดิมก่อนที่จะได้รับการพัฒนา สร้างวัฒนธรรมการทำงานที่เน้นผลงานที่มีคุณภาพ เป็นระบบ ตรวจสอบได้ และให้พนักงานมีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ที่ได้รับ เปิดโอกาสและช่องทางในการสะท้อนผลการปฏิบัติงาน ชื่นชมในผลงาน และยกย่องเมื่อทำงานได้ผลสำเร็จ

กระบวนการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน มีกระบวนการที่สำคัญ 3 กระบวนการคือ การวางแผนพัฒนาผลการปฏิบัติงาน การดำเนินการพัฒนาผลการปฏิบัติงาน และ การประเมินผลการปฏิบัติงาน การดำเนินการทั้ง 3 กระบวนการจะเป็นวงจรที่หมุนเวียนไปในแต่ละรอบปี

วงจร 1 ปี วงจรการประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. การวางแผนพัฒนาผลการปฏิบัติงาน Performance Appraisal Performance Planning Performance Management 2. การดำเนินการพัฒนาผลการปฏิบัติงาน วงจร 1 ปี

วางแผนการพัฒนาผลการปฏิบัติงาน วงปีของระบบ ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค มิ.ย. ก.ค. ส.ค. วางแผนการพัฒนาผลการปฏิบัติงาน การวางแผน การกำกับติดตาม การให้การปรึกษา การพัฒนา การประเมิน การวางแผน การกำกับติดตาม การให้การปรึกษา การพัฒนา การประเมิน

การวางแผนพัฒนาผลการปฏิบัติงาน เป้าหมายเพื่อ กำหนดเป้าหมายและภารกิจของหน่วยงาน การกระจายภาระงานและความรับผิดชอบไปสู่บุคลากรในงาน การกำหนดดัชนีชี้วัดความสำเร็จ และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน การวางแผนพัฒนาผลการปฏิบัติงานถือเป็นกลไกสำคัญที่จะช่วยส่งเสริมให้บุคลากรได้ทำงานตามศักยภาพ และสอดคล้องกับเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน ประกอบด้วย การกำหนด เป้าหมายและวัตถุประสงค์การปฏิบัติงาน บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ มาตรฐาน ดัชนีชี้วัดผลการปฏิบัติงาน แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน การวางแผนพัฒนาผลการปฏิบัติงาน

กิจกรรมการวางแผนพัฒนาผลการปฏิบัติงาน การกำหนดเป้าหมายและภารกิจของหน่วยงาน การกระจายภาระงานและความรับผิดชอบไปสู่บุคลากรในงาน การกำหนดดัชนีชี้วัดความสำเร็จ และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน การวางแผนพัฒนาผลการปฏิบัติงาน Position description (PD)

ขั้นตอนการวางแผนเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน การวิเคราะห์ภาระงานกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน 1 การสอบทานผลการปฏิบัติงานและการประเมินความต้องการ 2 การกำหนดภาระความรับผิดชอบสู่บุคลากรแต่ละบุคคลในหน่วยงาน 3 มาตรฐานการปฏิบัติงานและดัชนีชี้วัด ขั้นตอนการวางแผนเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน

การวางแผนพัฒนาผลการปฏิบัติงาน การดำเนินการเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน  การวางแผนพัฒนาผลการปฏิบัติงาน การกำหนดเป้าหมายและภารกิจของ หน่วยงาน การกระจายภารงานและความรับผิดชอบ ไปสู่บุคลากรในงาน การกำหนดดัชนีชี้วัดความสำเร็จ และ แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน  การดำเนินการเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน

การดำเนินการพัฒนาผลการปฏิบัติงาน เป็นกระบวนการที่จะทำให้แผนการพัฒนาผลการปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ มีกลไกการกำกับและติดตามผล การปฏิบัติงาน (Performance Monitoring) การสอนและแนะนำเพื่อให้เกิดการพัฒนาผลงาน (Performance Coaching) การประชุมเพื่อสะท้อนผลการปฏิบัติงานเป็นช่วงๆตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในแผน

ขั้นตอนการดำเนินการเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน การวิเคราะห์ภาระงานกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน 1 การสอบทานผลการปฏิบัติงานและการประเมินความต้องการ 2 การกำหนดภาระความรับผิดชอบสู่บุคลากรแต่ละบุคคลในหน่วยงาน 3 มาตรฐานการปฏิบัติงานและดัชนีชี้วัด แผนการพัฒนาบุคลากร 4 การสอนการแนะนำ การปรึกษาหารือ สะท้อนผล ปรับปรุง และ กำหนดแนวทางการพัฒนา 5 ขั้นตอนการดำเนินการเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน

วงจรในรอบ 1 ปี  การประเมินผลการปฏิบัติงาน  การวางแผนพัฒนาผลการปฏิบัติงาน การกำหนดเป้าหมายและภารกิจของ หน่วยงาน การกระจายภารงานและความรับผิดชอบ ไปสู่บุคลากรในงาน การกำหนดดัชนีชี้วัดความสำเร็จ และ แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน  การดำเนินการพัฒนาผลการปฏิบัติงาน การกำกับและติดตามผลการ ปฏิบัติงาน การปรึกษาหารือและสะท้อนผลการ  การประเมินผลการปฏิบัติงาน วงจรในรอบ 1 ปี

การประเมินผล เป็นกระบวนการประเมินผลสำเร็จของงานตามเป้าหมายที่ได้วางไว้ เป็นการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรแต่ละคนและวิเคราะห์ระดับความรู้ความสามารถของบุคลากร ประเมินปีละ 2 ครั้ง การประเมินผล

ขั้นตอนการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน การวิเคราะห์ภาระงานกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน 1 การสอบทานผลการปฏิบัติงานและการประเมินความต้องการ 2 การกำหนดภาระความรับผิดชอบสู่บุคลากรแต่ละบุคคลในหน่วยงาน 3 มาตรฐานการปฏิบัติงานและดัชนีชี้วัด แผนการพัฒนาบุคลากร 4 การสอนการแนะนำ การปรึกษาหารือ สะท้อนผล ปรับปรุง และ กำหนดแนวทางการพัฒนา 5 การประเมินผล การปฏิบัติงาน 6 ขั้นตอนการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน

แนวทางการประเมินผลงาน การประเมินปริมาณงาน 40% การประเมินคุณภาพงาน 30% การประเมินสมรรถนะในการ ปฏิบัติงาน 30%

การประเมินผลการปฏิบัติงาน ผลการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปี การวางแผนการพัฒนาผลการปฏิบัติงานในปีต่อไป การเลื่อนเงินเดือนประจำปี การพิจารณาเงินโบนัส การต่อสัญญาจ้าง

บทบาทของหัวหน้าองค์กร หน้าที่ความรับผิดชอบทั่วไป การกำหนดเป้าหมายของหน่วยงาน การกำหนดและแบ่งภาระงานและความรับผิดชอบสู่บุคลากร การประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปี การเตรียมการประชุมเพื่อสะท้อนผลการปฏิบัติงาน การให้คำปรึกษาและสะท้อนผลการปฏิบัติงาน การเขียนแผนการพัฒนาบุคลากร การเสนอผลการประเมินและการให้การ ยอมรับผลการประเมิน

บทบาทของหัวหน้าองค์กร หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก การบริหารจัดการการปฏิบัติงานของบุคลากรใน หน่วยงาน ประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรด้วย ความยุติธรรมและซื่อสัตย์ โปร่งใส ตรงไปตรงมา และสม่ำเสมอ สะท้อนผลการปฏิบัติงานของบุคลากร อย่างมีประสิทธิภาพ รับผิดชอบต่อการพัฒนาบุคลากรเพื่อให้ ปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่กำหนด

บทบาทของบุคลากร การปรับแผนการพัฒนา การกำหนดแผนการพัฒนาผลการปฏิบัติงาน การประเมินตนเอง การประชุมเพื่อสะท้อนผลการปฏิบัติงานกับผู้บังคับบัญชา การปรับแผนการพัฒนา

หลักการของระบบ ยืดหยุ่น ง่าย และตรวจสอบได้ สามารถปรับใช้ให้สอดคล้องกับลักษณะและศักยภาพของหน่วยงาน และบุคลากร มีความเรียบง่ายในทางปฏิบัติ โดยกำหนดขั้นตอนและแนวทางไว้อย่างชัดเจน มีระบบการบันทึกข้อมูลและเอกสารที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจและตรวจสอบ

หลักการของระบบ เปิดเผย เป็นธรรมและโปร่งใส การกำหนดเป้าหมายและแนวทางการประเมินต้องเกิดจากการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเป็นข้อตกลงร่วนกันของผู้บริหารและบุคลากรในหน่วยงาน มีการดำเนินการอย่างเปิดเผยและให้มีการประเมินจากข้อมูลที่มาจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายโดยยึดหลักคุณธรรมและโปร่งใส

หลักการของระบบ เกื้อกูลและสร้างสรรค์ ระบบช่วยให้บุคลากรมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ระบบทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้งต่อตนเองและหน่วยงาน