การพัฒนาโครงการวิจัย vs การจำแนกประเภทงานวิจัย ประเภท 1 (C1) ไม่อันตราย (ภาคผนวก 2,3 หน้า 67-74) ประเภท 2 (C2) อาจอันตราย ประเภท 3 (C3) อันตราย ประเภท 4 (C4) อันตรายร้ายแรงและขัดต่อศีลธรรม ประเภท งานวิจัย
: ต้องขอได้รับการยกเว้นจาก IBC : ไม่ต้องขออนุญาต NB C : ต้องขอได้รับการยกเว้นจาก IBC ขั้นตอน หัวหน้าโครงการ กรอกแบบขอยกเว้น F-BS-IBC-GO1 + proposal IBC ประเมิน หัวหน้าโครงการ แจ้งผลประเมินให้ NBC ทราบ
: Transgenic animal ….(หน้าที่ 21) : ต้องประเมินโดย IBC : Transgenic plants : Transgenic animal ….(หน้าที่ 21) : ต้องประเมินโดย IBC ขั้นตอน หัวหน้าโครงการ กรอกแบบประเมิน F-BS-IBC-GO2 + proposal IBC หัวหน้าโครงการ ส่งข้อเสนอ + ผลประเมิน ให้ NBC ทราบ
: การจัดประเภท (หน้าที่ 22-23) ประเภท C3 : การจัดประเภท (หน้าที่ 22-23) ขั้นตอน หัวหน้าโครงการ กรอกแบบขอยกเว้น F-BS-IBC-GO2 + proposal IBC NBC หัวหน้าโครงการ และ IBC
การจำแนกประเภทของพืชดัดแปลงพันธุกรรมในการทดลองภาคสนาม กรณีที่ 1 : มีประวัติปลอดภัยในระดับภาคสนาม (สัณฐานวิทยาเหมือน wild type + gene ที่ใช้ปลอดภัย ไม่ก่อผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กรณีที่ 2 : ไม่ใช่กรณีที่ 1 ต้องควบคุม cross pollination/fertilization เป็นต้น กรณีที่ 3 : ไม่มีประวัติความปลอดภัยมาก่อน (ทั้งกรณีที่ 1 และ 2) (หน้า 49-50) ต้องประเมินผลกระทบ ในบริเวณที่ทำการทดลอง ระบบนิเวศในธรรมชาติ สภาพแวดล้อมอื่น ๆ
การจำแนกประเภทจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม ในการทดลองภาคสนาม กรณีที่ 1 : (คล้ายพืช GMO) กรณีที่ 2 : ไม่ใช่กรณีที่ 1 ควบคุมทางชีวภาพ Gene transfer ควบคุมให้อยู่ในพื้นที่จำกัด กรณีที่ 3 : ไม่มีประวัติความปลอดภัยมาก่อน (ทั้งกรณีที่ 1 และ 2) ต้องประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สารอาหาร สารพิษ ความจำเพาะเจาะจง
การทดลองในภาคสนาม ขั้นตอนที่ 1 โรงปลูกและ/หรือ Lab - ตรวจสอบและจำแนกประเภทความปลอดภัย - ทดสอบอย่างน้อย 1 ฤดูปลูก IBC หรือกรมวิชาการเกษตร ขั้นตอนที่ 2 แปลงทดลองขนาดเล็ก - ดำเนินการตามหน้า 45-46 IBC หรือกรมวิชาการเกษตร ขั้นตอนที่ 3 ภาคสนามขนาดใหญ่ - ไม่น้อยกว่า 2 ที่ + 2 ฤดูปลูก IBC หรือกรมวิชาการเกษตร NBC