ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ
รุปเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร ส เป็นวิถีการดำรงชีวิตที่ใช้คุณธรรมนำความรู้ เป็นการพัฒนาตนเอง ครอบครัว องค์กร ชุมชน สังคม ประเทศชาติ ให้ก้าวนำไป พร้อมกับความสมดุล มั่นคง ยั่งยืน เป็นหลักปฏิบัติเพื่อให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ระหว่างคนกับคนในสังคม และคนกับธรรมชาติ
คนไทยอยู่เย็นเป็นสุขทั้งกาย ใจ สังคม และปัญญา สามารถดำรงชีพบนพื้นฐานความพอดีพอประมาณมีเหตุผล ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีครอบครัวอบอุ่น มั่นคง อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพ เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และช่วยเหลือเกื้อกูล มีสัมมาชีพทั่วถึง มีรายได้
คนไทยอยู่เย็นเป็นสุขทั้งกาย ใจ สังคม และปัญญา มีสุขภาพแข็งแรง และอายุยืนยาว เพื่อให้ทุกภาคส่วนมีเป้าหมายร่วมกันในการนำพาชุมชนของประเทศไทยสู่การเป็นเมืองไทยแข็งแรง ภายในปีพุทธศักราช ๒๕๖๐
(รอบรู้,รอบคอบ,ระมัดระวัง) (ซื่อสัตย์, สุจริต,ขยัน,อดทน, แบ่งปัน) พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี เงื่อนไขความรู้ (รอบรู้,รอบคอบ,ระมัดระวัง) เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์, สุจริต,ขยัน,อดทน, แบ่งปัน) คนไทย 63 ล้านคน หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คนไทยแข็งแรง เมืองไทย แข็งแรง การสร้างสุขภาพ (คนปกติ แข็งแรง) 30 บาทรักษาทุกโรค (รักษาคนป่วย หายป่วย แข็งแรง) แข็งแรงด้าน สุขภาพกาย จิตใจ สังคมดี เศรษฐกิจพอเพียง และปัญญาดี นำสู่ ชีวิต / เศรษฐกิจ / สังคม สมดุล / มั่นคง / ยั่งยืน สุขภาพ สมรรถภาพ คุณภาพ การปฏิบัติต่อความรู้ ระดับความรู้ จิต ใจ ปัญญา ใจ กาย กาย วินัย อาชีพ ปฏิสัมพันธ์ สิ่งแวดล้อม ปัจจัยสี่ การใช้อินทรีย์ สุขภาพร่างกาย สังคม กายภาพ
เศรษฐกิจพอเพียง มีแผนการพัฒนา เพื่อให้เกิดสาธารณสุข ในระดับโลก, WHO เพื่อให้ประชาชนชาวไทย เกิดสาธารณสุข, HT เศรษฐกิจพอเพียง และ สุขภาวะองค์รวม เกษตร ทฤษฏีใหม่ มีแผนการพัฒนาองค์กร เพื่อทำให้เกิดสาธารณสุข สังคม กายภาพ จิต ปัญญา มีแผนการพัฒนาตนเอง ให้เกิดความสุข และมีแนวทางในการพัฒนา ผู้อื่นให้ถึงความสุข เพื่อทำให้เกิดสาธารณสุข กาย ใจ
วิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศในช่วง 20 ปี ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังคม แห่งภูมิปัญญา การเรียนรู้ สังคมคุณภาพ สังคมสมานฉันท์ เอื้ออาทร เศรษฐกิจ สังคม การเมืองเข้มแข็ง คนดี คนเก่ง คนมีการศึกษา คิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้ตลอดชีวิต รู้ รัก สามัคคี สืบสาน วัฒนธรรมไทย การพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยู่ดีมีสุข
หลักการสำคัญของการขับเคลื่อน ๑.ความมุ่งมั่น (Purpose) ร่วมมือกันทำให้สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ๒.หลักการ (Principle) เชื่อมโยง เกื้อกูล หนุนเสริม เห็นคุณค่ากัน ๓.การมีส่วนร่วม (Participation) ทุกฝ่ายในสังคมเข้ามามีส่วนร่วม
ยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อน สร้างกระบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม บูรณาการการพัฒนาโดยใช้พื้นที่ชุมชนท้องถิ่นเป็นตัวตั้ง สร้างความเชื่อมโยงการทำงานระดับต่าง ๆ จัดการความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากพื้นที่ต้นแบบ
กลไกสู่ความสำเร็จ เป้าประสงค์ ชุมชน ภาคี แข็งแกร่ง บริหารจัดการ มีประสิทธิภาพ ภาคี แข็งแกร่ง รากฐานสังคม เข้มแข็ง ชุมชน เป้าประสงค์
กลไกการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพกับเศรษฐกิจพอเพียง แผนพัฒนาระดับชาติ นโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวง/ กรมที่เกี่ยวข้อง การสนับสนุนของศอม./องค์กรต่างๆ เศรษฐกิจพอเพียง เอาชนะความยากจน เมืองไทยแข็งแรง ฯลฯ CEO จังหวัด เอกชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ -มท.,ศธ.,กษ.,สธ.,พมจ.,สพท. ฯลฯ -สสจ.,รพศ., รพท., รพช. สอ. -ฯลฯ อปท. -อบจ. - เทศบาล - อบต. กระบวนการพัฒนางาน ประชาคม วิชาการ
หัวใจชุมชนพึ่งตนเอง : หัวใจชุมชนพึ่งตนเอง : ชุมชนเข้มแข็ง "5 ก" 1. แกนนำ 3. กลุ่ม 2. กลไกการจัดการ - กฎ กติกา กลยุทธ์ - ข้อมูล - ความรู้ 4. กองทุน 5. กิจกรรม
(ค้นหาปัญหา / สาเหตุ , วางแผนดำเนินกิจกรรม , ลงทุน , ปฏิบัติงาน) เป็นการกระทำของประชาชน เป็นจิตสำนึกของประชาชน เป็นความเสมอภาคกันของประชาชน เป็นความเห็นพ้องต้องกันของประชาชน เป็นการพัฒนาศักยภาพของประชาชน การมีส่วนร่วม ของชุมชน คุณลักษณะของ การมีส่วนร่วม ชุมชน - ในการตัดสินใจ ในการดำเนินงาน (ค้นหาปัญหา / สาเหตุ , วางแผนดำเนินกิจกรรม , ลงทุน , ปฏิบัติงาน) ในการรับผลประโยชน์ ในการติดตามประเมินผล
วงจรแผนปฏิบัติการมีส่วนร่วมชุมชน 1 ประเมินค้นหาความต้องการ 1 ประเมินค้นหาความต้องการ และทรัพยากร 1 5 ตกลงสร้าง วิสัยทัศน์ร่วม 2 5 2 กำกับและ ประเมินผล 5 2 รวบรวมความคิด และแผนปฏิบัติการ 3 สร้างศักยภาพความ เข้มแข็งในการปฏิบัตการ 4 3 3 4 4