พงศธร สังข์เผือก สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
ENVIRONMENTAL SCIENCE
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
การพัฒนาโครงการวิจัย vs การจำแนกประเภทงานวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Physiology of Crop Production
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร
ปัญหาจากสภาพแวดล้อม 1. ประชากรล้น 2. ภาวะมลพิษ - ของเสียจากธรรมชาติ
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ

93343 หลักโภชนศาสตร์ และอาหารสัตว์
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
ฉลากและการโฆษณาเครื่องสำอาง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
8.5 คุณภาพน้ำ ….. แบ่งออกเป็น 3 ด้าน
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
การเจริญเติบโตของพืช
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
การสังเคราะห์ (synthesis)
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางปฏิบัติสำหรับการประเมินความปลอดภัยของพืชอาหารที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรม พงศธร สังข์เผือก สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล วันจันทร์ที่ 13 กันยายน 2547 ห้องอยุธยา โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพฯ

Substantial equivalence ความเทียบเท่าโดยสาระสำคัญ องค์ประกอบโดยรวมในอาหารทั้งหมด ไม่มีความแตกต่างจากพืชอาหารที่ได้จากธรรมชาติ ถ้ามีความแตกต่าง พิจารณาประเมินสิ่งที่แตกต่างเพิ่มเติม ผลที่เจตนาให้เกิดขึ้น (intended effect) หรือไม่ได้เจตนาให้เกิดขึ้น (unintended effect)

ข้อมูลพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ข้อมูลองค์ประกอบสำคัญในอาหาร ข้อมูลสารโปรตีนหรือสารประกอบใหม่ที่ถูกสร้างขึ้นจากการดัดแปลงพันธุกรรม ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของสารเมตาโบไลต์ ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงคุณค่าทางโภชนาการ ข้อมูลกระบวนการแปรรูปเพื่อเป็นอาหาร

องค์ประกอบสำคัญในอาหาร เปรียบเทียบชนิดและปริมาณขององค์ประกอบสำคัญกับพืชอาหารที่ได้จากธรรมชาติ ที่มีการเจริญเติบโตและการเก็บเกี่ยวภายใต้สภาวะเดียวกัน จำนวนรุ่นที่ทำการปลูกและเก็บตัวอย่าง ต้องเพียงพอที่สะท้อนถึงความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในแหล่งเพาะปลูกนั้นๆ การทดลองในแต่ละสภาวะควรต้องมีการทำซ้ำ เพื่อให้ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น

องค์ประกอบสำคัญในอาหาร ต้องทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบ ส่วนประกอบพื้นฐาน (proximate composition) True protein, non protein nitrogen: nucleic acid, aminoglycosides Amino acid profile, d-amino acids ไขมัน ที่ละลายและไม่ละลายน้ำ, fatty acid profile, phospholipids, sterols (phytosterol), cyclic fatty acids, toxic fatty acids, trans fatty acids

องค์ประกอบสำคัญในอาหาร คาร์โบไฮเดรต: น้ำตาล แป้ง chitin, non-starch polysaccharide: lignin Vitamins Minerals Phytonutrients สารพิษที่มีอยู่ตามธรรมชาติ: gossypol สารต้านโภชนาการที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือโดยความบังเอิญ: phytates, trypsin inhibitors, tannins, oxalates, hemagglutinin

องค์ประกอบสำคัญในอาหาร Storage stability ความเสถียรในการเก็บรักษา ความเสถียรของโปรตีนและสารอาหารอื่น ต่อความร้อน ต่อกระบวนการแปรรูปอาหาร และต่อสภาวะภายในระบบการย่อยอาหาร Nutrient bioavailability ชีวประสิทธิผลของสารอาหาร ถ้าเป็นอาหารหลัก ต้องมีการศึกษาในสัตว์ทดลอง มีหลักฐานแสดงว่ามีคุณค่าทางโภชนาการอย่างเพียงพอ วิเคราะห์ด้วยวิธีมาตรฐาน HPLC, GC-MS, ICP

THEORETICAL SAMPLE NUMBER Statistically based: n > ([t / r] [s/y])2 Where: n = number of samples (must start with guess [10]), t = ‘students t’ for n – 1 df & confidence desired (95%) [2.262], r = closeness of estimate to population value (10%) [0.10], s/y = estimated coefficient of variation of population (first guess = 20% [0.20]) Result = 21 samples (20.46)

วิธีวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี Good Laboratory Practices วิธีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของสากล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ + มกอช) AOAC, 17th ed. 2000. AOCS, 1993. ISO, 1977.

Nutritional Modification การดัดแปลงพันธุกรรม มีเจตนาให้เกิดการปรับเปลี่ยนคุณค่าของสารอาหาร ปริมาณของสารอาหาร หน้าที่ทางโภชนาการโดยตรง อาจส่งผลถึงการเปลี่ยนแปลงของสารอาหารอื่นๆ ได้ อาจมีผลต่อภาวะโภชนาการของบุคคลที่บริโภคอาหารนั้น ต้องเปรียบเทียบกับพืชอาหารชนิดเดียวกันที่ได้จากธรรมชาติ รูปแบบการใช้ และการบริโภค ความแตกต่างและความแปรปรวนทางด้านภูมิศาสตร์และวัฒนธรรมของรูปแบบการบริโภคอาหารในบางพื้นที่ บางกลุ่มประชากร อาจได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง

Nutritional Modification ควรประเมินทั้งระดับปกติ และระดับสูงสุดของการบริโภค ว่าจะไม่ก่อให้เกิดผลที่ไม่พึงปรารถนาทางโภชนาการ ลักษณะเฉพาะทางสรีระวิทยา และความต้องการในการครองธาตุ ของกลุ่มประชากรต่างๆ เช่น ทารก เด็ก หญิงมีครรภ์และให้น้ำนมบุตร ผู้สูงอายุ กลุ่มที่มีโรคเรื้อรัง หรือระบบภูมิคุ้มกันที่แตกต่างไป ต้องประเมินภาวะโภชนาการเพิ่ม ความเสถียรของสารอาหาร สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ภายหลังการเปลี่ยนแปลงของเวลา การแปรรูป และการเก็บรักษา

Nutritional Modification กรณีที่องค์ประกอบเปลี่ยนแปลงจากพืชธรรมชาติชัดเจน ต้องเปรียบเทียบกับอาหารอื่นที่มีองค์ประกอบใกล้เคียง เพื่อให้การประเมินผลกระทบทางโภชนาการ มีความชัดเจนยิ่งขึ้น ต้องทำการศึกษาในสัตว์ทดลอง เพื่อตรวจสอบผลกระทบทางโภชนาการด้านอื่นๆ ที่เหมาะสมเพิ่มเติมโดยเฉพาะด้านพิษวิทยา เปรียบเทียบข้อมูล ประวัติการใช้บริโภค การแพร่กระจายในธรรมชาติ กลุ่มผู้บริโภค และสัดส่วนการบริโภค วิธีการและขั้นตอนการผลิตเพื่อใช้เป็นอาหาร ปริมาณสารพิษ กับพืชอาหารธรรมชาติ

กระบวนการแปรรูปเพื่อเป็นอาหาร ทั้งระดับครัวเรือน และอุตสาหกรรม มีข้อมูลอธิบายถึงภาวะ ขั้นตอนการแปรรูปที่ใช้ในการผลิตส่วนประกอบของพืชอาหาร เช่นการสกัดแยก ขั้นตอนการทำให้บริสุทธิ์ สารอาหารบางอย่างอาจเปลี่ยนแปลงไปในรูปที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายจากการแปรรูปอาหาร สารพิษอาจเปลี่ยนคุณสมบัติในการทนทานต่อความร้อนมากขึ้น