เทคนิคการประชุมสหกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Advertisements

การประสานงาน.
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
หลักการวางแผนประชาสัมพันธ์
ประโยคใจความสำคัญ ประโยคที่ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดในย่อหน้านั้น
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
สภานิสิต: บทบาทและทิศทางในอนาคต
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
มหาวิทยาลัย ต้องการชุด โครงการแบบไหน. น่าจะเริ่มต้นถามว่า ต้องการผลงานแบบไหน จากชุดโครงการวิจัย.
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
คุยกันก่อนเรียน สัมมนาสัตวศาสตร์ ปีการศึกษา 2551.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
กระบวนการและเทคนิค การมีส่วนร่วมแบบพหุภาคี
ผู้นำต้องมีวิสัยทัศน์
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
บทที่7 ช่องว่างองค์กร 12/9/05 ช่องว่างองค์กร.
การเขียนโครงการ.
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
หน่วย การเรียนรู้.
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
ตัวอย่างการเขียน บทที่ 1 บทนำ.
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
การวัดผล (Measurement)
สังคม โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มคน จำนวนหนึ่ง ซึ่งมีแบบแผนในการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน กลุ่มคน หมายถึง.
มาตรฐานการควบคุมภายใน
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
( Human Relationships )
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
ดร.อุดมพร ธีระวิริยะกุล และทีมงานคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การศึกษาบัณฑิต (กศบ.) เทคโนโลยีทางการศึกษา มศว. ประสานมิตร
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
หลักการเขียนโครงการ.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ชื่อผลงานวิจัย การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองใน การบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นายรัตนวุธ บุญเทียบ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคนิคการประชุมสหกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ โดย อาจารย์ วรเทพ ไวทยาวิโรจน์

คำจำกัดความของการประชุม การที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมีการ นัดหมายมาพบปะกันในสถานที่ เวลาและประเด็น ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า เพื่อระดมความคิดในการหา ทางออกของปัญหาหรือเพื่อให้ได้ข้อยุติในการตัด สินใจปฏิบัติงานหรือเพื่อกำหนดวิธีการ แนวทาง ในการดำเนินงานอันจะนำไปสู่เป้าหมายที่วางไว้

องค์ประกอบของการประชุม 1. มีบุคคล 2 คนขึ้นไป 2. นัดหมายกัน 3. สถานที่ 4. วันเวลา 5. ประเด็น (วาระการประชุม) ระดมความคิด

วัตถุประสงค์ของการประชุม 1. หาแนวร่วม 2. แนวความคิดที่หลากหลาย 3. ความรับผิดชอบร่วมกัน 4. องค์รวม หรือความมีเอกภาพ 5. วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ชัดเจน

วัตถุประสงค์ของการประชุม 6. มติการประชุมอ้างอิงเป็นบรรทัดฐาน 7. มีน้ำหนัก ความหนักแน่น น่าเชื่อถือว่ามีการ พิจารณา กลั่นกรองแล้วอย่างรอบคอบ 8. ภาระกิจสำคัญของส่วนงานหนึ่งใดที่ ต้องการข้อวินิจฉัย 9. ระดมผู้มีความรู้ ประสบการณ์มาร่วมให้ ทัศนะหรือโลกทรรศน์

การจัดโต๊ะประชุม การจัดโต๊ะประชุมมีความหมายและความสำคัญต่อเป้าหมายของการประชุม เพราะการจัดโต๊ะแต่ละแบบย่อมเป็นกลยุทธ์ในการนำไปสู่ความคาดหวังของผู้จัดการประชุม ขณะเดียวกันโต๊ะประชุมที่จัดขึ้นก็เป็นเชิงจิตวิทยา และกุศโลบายของผลสำเร็จแห่งการประชุม

การจัดโต๊ะประชุม 1. แบบโต๊ะกลม การประชุมแบบนี้ใช้ในโอกาสที่จะไม่ให้ผู้ ประชุมเกิดความขัดแย้ง หรือเพื่อลดความรู้สึก ของผู้เข้าประชุมว่าใคร “ใหญ่” กว่าใคร หรือใคร มี“ศักดิ์” มากกว่าใคร ซึ่งเป็นการขจัดวามหมาย ของตำแหน่ง และยศ ฐาน์ บรรดาศักดิ์

การจัดโต๊ะประชุม 2. แบบรูปตัว I ใช้กับการประชุม 2ฝ่าย ที่จะหาทางออกในปัญหาร่วมกัน จัดเฉพาะในหน่วยงานที่แยกกัน เรียกว่า “การประชุมแบบทวิภาคี” ถ้าไม่จำเป็นก็ไม่ควรจะจัดโต๊ะแบบ นี้ เพราะเป็นการทำลายบรรยากาศ แห่งมิตรสัมพันธ์

การจัดโต๊ะประชุม แบบสามเหลี่ยม แบบสี่เหลี่ยม แบบ 3 ฝ่าย เรียกว่า “การประชุมแบบไตรภาคี” แบบ 4 ฝ่าย