เทคนิคการประชุมสหกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ โดย อาจารย์ วรเทพ ไวทยาวิโรจน์
คำจำกัดความของการประชุม การที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมีการ นัดหมายมาพบปะกันในสถานที่ เวลาและประเด็น ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า เพื่อระดมความคิดในการหา ทางออกของปัญหาหรือเพื่อให้ได้ข้อยุติในการตัด สินใจปฏิบัติงานหรือเพื่อกำหนดวิธีการ แนวทาง ในการดำเนินงานอันจะนำไปสู่เป้าหมายที่วางไว้
องค์ประกอบของการประชุม 1. มีบุคคล 2 คนขึ้นไป 2. นัดหมายกัน 3. สถานที่ 4. วันเวลา 5. ประเด็น (วาระการประชุม) ระดมความคิด
วัตถุประสงค์ของการประชุม 1. หาแนวร่วม 2. แนวความคิดที่หลากหลาย 3. ความรับผิดชอบร่วมกัน 4. องค์รวม หรือความมีเอกภาพ 5. วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ชัดเจน
วัตถุประสงค์ของการประชุม 6. มติการประชุมอ้างอิงเป็นบรรทัดฐาน 7. มีน้ำหนัก ความหนักแน่น น่าเชื่อถือว่ามีการ พิจารณา กลั่นกรองแล้วอย่างรอบคอบ 8. ภาระกิจสำคัญของส่วนงานหนึ่งใดที่ ต้องการข้อวินิจฉัย 9. ระดมผู้มีความรู้ ประสบการณ์มาร่วมให้ ทัศนะหรือโลกทรรศน์
การจัดโต๊ะประชุม การจัดโต๊ะประชุมมีความหมายและความสำคัญต่อเป้าหมายของการประชุม เพราะการจัดโต๊ะแต่ละแบบย่อมเป็นกลยุทธ์ในการนำไปสู่ความคาดหวังของผู้จัดการประชุม ขณะเดียวกันโต๊ะประชุมที่จัดขึ้นก็เป็นเชิงจิตวิทยา และกุศโลบายของผลสำเร็จแห่งการประชุม
การจัดโต๊ะประชุม 1. แบบโต๊ะกลม การประชุมแบบนี้ใช้ในโอกาสที่จะไม่ให้ผู้ ประชุมเกิดความขัดแย้ง หรือเพื่อลดความรู้สึก ของผู้เข้าประชุมว่าใคร “ใหญ่” กว่าใคร หรือใคร มี“ศักดิ์” มากกว่าใคร ซึ่งเป็นการขจัดวามหมาย ของตำแหน่ง และยศ ฐาน์ บรรดาศักดิ์
การจัดโต๊ะประชุม 2. แบบรูปตัว I ใช้กับการประชุม 2ฝ่าย ที่จะหาทางออกในปัญหาร่วมกัน จัดเฉพาะในหน่วยงานที่แยกกัน เรียกว่า “การประชุมแบบทวิภาคี” ถ้าไม่จำเป็นก็ไม่ควรจะจัดโต๊ะแบบ นี้ เพราะเป็นการทำลายบรรยากาศ แห่งมิตรสัมพันธ์
การจัดโต๊ะประชุม แบบสามเหลี่ยม แบบสี่เหลี่ยม แบบ 3 ฝ่าย เรียกว่า “การประชุมแบบไตรภาคี” แบบ 4 ฝ่าย