การสังเคราะห์ประสบการณ์ กระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
เศรษฐกิจพอเพียงกับบริการสุขภาพ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
พหุลักษณ์ทางการแพทย์ ความหลากหลายของระบบสุขภาพ
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
( Crowdsourcing Health Information System Development )
แนวคิด ในการดำเนินงาน
ข้อควรรู้เพิ่มเติม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
ข้อเสนอยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ เขตภาคกลาง 2554 จิรวัฒน์ วีรังกร.
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
สังคมต้นแบบเรียนรู้การป้องกัน และดูแลโรคกระดูกพรุน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวคิดในการกำหนดขอบเขต และแนวทางการประเมิน ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แนวทางการ ดำเนินงานที่สำคัญ ตุลาคม พันธกิจ สวรส.  สร้าง / จัดการความรู้เพื่อการ พัฒนาระบบสุขภาพ  เน้นการวิจัยเชิงระบบ (system approach) และวิจัยในประเด็นปัญหาสำคัญของระบบ.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายด้านบริหาร.
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักงานอัยการสูงสุด
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
นโยบายกรมการแพทย์ ในการพัฒนาเครือข่ายวิชาการและการบริการตติยภูมิและศูนย์รับส่งต่อภูมิภาค โดย นายแพทย์เรวัต วิศรุตเวช อธิบดีกรมการแพทย์
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสังเคราะห์ประสบการณ์ กระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ I will present a concept paper on civil society and health care reform. The topic is "Health Care Reform and the Absence of Civil Society." My view is that the roles of civil society has been largely missing in health care reform. นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ Society and Health Institute, Bureau of Policy & Strategy

สาเหตุที่นานาประเทศปฏิรูปสุขภาพ ประชาชนขาดหลักประกัน ค่าใช้จ่ายทางการแพทย์สูง คุณภาพบริการต่ำ สถานะสุขภาพไม่น่าพอใจ เปลี่ยนแปลงทางการเมือง เป็นเงื่อนไขเงินกู้ กระแสการปฏิรูปเริ่มขึ้นและกระจายไปทั่วโลกต้น คศ. 1990

มองสุขภาพแบบแยกส่วน ของระบบบริการทางการแพทย์ และการขับเคลื่อนของภาครัฐ 1. ใช้วิธีคิดแบบชีวกลไกทางการแพทย์ มองสุขภาพแบบแยกส่วน 2. มุ่งปฏิรูปด้านการเงินการคลัง ของระบบบริการทางการแพทย์ 3. เน้นกลไกนโยบายที่เป็นทางการ และการขับเคลื่อนของภาครัฐ แนวทางการปฏิรูปสุขภาพที่เป็นอยู่ทั่วโลก

ระบบสุขภาพและการแพทย์ HEALTH and MEDICAL SYSTEM DISEASE THEORY SYSTEM ระบบวิธีคิด = ระบบทฤษฎีเกี่ยวกับโรคและสุขภาพ HEALTH DELIVERY SYSTEM ระบบงาน = ระบบการดูแลรักษาสุขภาพ

ระบบวิธีคิดสุขภาพแบบแยกส่วน เน้นส่วนย่อย ไม่เห็นความเชื่อมโยง สุขภาพคืออวัยวะที่ทำงานปกติ เน้นหนักที่การรักษาโรค สนใจกาย ไม่ใส่ใจกับความรู้สึก ขาดมิติทางวัฒนธรรมและจิตวิญญาณ

ขยายกรอบวิธีคิดเรื่องสุขภาพ สันติภาพ จิตวิญญาณ อิสรภาพ สุนทรียภาพ ความเป็นมนุษย์ ความเจ็บป่วย โรค สุขภาพ ขยายกรอบวิธีคิดเรื่องสุขภาพ

พหุลักษณ์ทางการแพทย์ POPULAR SECTOR การดูแลตนเองของภาคประชาชน 80% การแพทย์ภาควิชาชีพ การแพทย์พื้นบ้าน FOLK SECTOR PROFESSIONAL SECTOR ความหลากหลายของระบบสุขภาพ Pluralism of medical system

ปฏิรูปบริการ: เน้นมาตรการทางการเงิน พลังวิชาการ พลังสังคม พลังการเมือง ปฏิรูประบบสุขภาพ: เน้นการขับเคลื่อนสังคมและประสานพลัง

ลักษณะเด่น: ด้านกระบวนการขับเคลื่อน เน้นการสร้างเจตนารมย์ร่วมกัน เป็นการเคลื่อนไหวที่มีฐานกว้าง เน้น Deliberation ไม่ใช่แค่ Implementation มีการพัฒนารูปแบบการขับเคลื่อนที่หลากหลาย ใช้ความสมานฉันท์และสันติวิธีในการแก้ปัญหา

ลักษณะเด่น: ด้านเนื้อหาและแนวคิด ปฏิรูปส่วนที่ลึกและยาก คือ วิธีคิด มองสุขภาพหลายมิติครอบคลุมและเชื่อมโยงกัน ใช้วิชาการ ผสมผสานภูมิปัญญาไทย & สากล เป็นการเรียนรู้มากกว่าเรื่องสุขภาพ คือเรื่องความเป็นพลเมือง

จุดอ่อนและข้อจำกัด ประเด็นมีความสลับซับซ้อนเข้าใจยาก ไม่เห็นผลหรือประโยชน์ระยะสั้น ยังมีความลังเลสงสัย เป็นแนวทางใหม่ ต้องเรียนรู้ด้วยตัวเอง

จุดเน้นที่ควรเป็นหัวใจการปฏิรูป สร้างวิธีคิดสุขภาพใหม่ (สัมมาทิฐิ) สร้างเสริม Deliberative function ของระบบอภิบาลองค์การ เน้นการสร้างวัฒนธรรมสุขภาพ ด้วยเครือข่ายที่เข้มแข็งของประชาคม เรียนรู้การทำงานที่เสริมแรงกัน เพื่อแก้ปัญหาที่ยาก

ระบบสุขภาพใหม่ Reinventing National Health System ถูก มีประสิทธิภาพ ยั่งยืน พึ่งตนเองได้มากขึ้น ส่งผลต่อการพัฒนาด้านอื่น เคารพศักดิ์ศรีและ คุณค่าความเป็นมนุษย์ เป็นแบบอย่างให้นานาชาติ ได้ร่วมเรียนรู้ Reinventing National Health System