นโยบายโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

Homeward& Rehabilitation system
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
Service Plan สาขา NCD.
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
25/07/2006.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายด้านบริหาร.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ความท้าทายของการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรคในอนาคต
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ สำหรับผู้ป่วยจิตเวช.
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารจัดการ Asthma & COPD 1.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
การนำเสนอคำของบดำเนินงานโครงการปี 2559
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง

Easy COPD clinic … Easy to Practice and Achieve
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
PCT ทีมนำทางคลินิก.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง นายแพทย์วินัย สวัสดิวร เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ Asthma and COPD for Health Care Worker วันที่ 20 กรกฎาคม 2555

ปัญหา/ความสำคัญ WHO คาดการณ์ว่า COPD จะเป็นสาเหตุการตายอันดับ 3 ของโลกในปี 2030 เป็นโรคที่มีค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจ (COI : Cost of Illness) ปี 2552* คิดเป็น 0.14% หรือ 12,735 ล้านบาท เป็นโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่สามารถป้องกันและควบคุมได้ ควันบุหรี่และมลภาวะจากการเผาไหม้เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญ กระทบต่อการดำเนินชีวิต กิจวัตรประจำวัน สร้างความวิตกกังวล กลัว ซึมเศร้า และลดคุณค่าในตัวผู้ป่วย เป็นภาระทางเศรษฐกิจของผู้ป่วย ครอบครัวและสังคม * อ้างอิงจาก รายงานการศึกษา การประมาณความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากโรคเรื้อรังและปัจจัยเสี่ยง โดย โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย 2

WHO’s role : COPD Increase public awareness and aware of severity of associated problems : patients and health professionals Organize and co-ordinate global epidemiological surveillance : global & regional trend Develop and implement an optimal strategy for its management and prevention http://www.who.int/respiratory/copd/activities/en/index.html 3

WHO’s activities : COPD GARD : Global Alliance against chronic Respiratory Disease >> improving global lung health. FCTC : Framework Convention on Tobacco Control >> globalization of the tobacco epidemic, to protect people from devastating impact and exposure to tobacco smoke. WHO’s Programme on Indoor Air Pollution >> collects and evaluates the evidence for impact of household energy on health, reducing health burden http://www.who.int/respiratory/copd/activities/en/index.html 4

การศึกษาเปรียบเทียบผลลัพธ์ จากการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย COPD

แหล่งข้อมูล จากตัวอย่างรพ.ที่เข้าร่วมโครงการ Easy COPD clinic รพ.ยางตลาด รพ.บุรีรัมย์ รพ.โนนสะอาด รพ.อุตรดิตถ์ ผลงาน R2R : การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรค COPD แบบไร้รอยต่อในรพ.ชุมชน รพ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย

ผลลัพธ์จากการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยCOPD อัตราการมาตรวจที่แผนกฉุกเฉิน (acute exacerbation) ลดลง อัตราการมารับบริการผู้ป่วยนอก (ก่อนเวลานัด) ลดลง อัตราการรับเข้าพักรักษาในรพ.ลดลง คุณภาพชีวิตผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ความพึงพอใจผู้ป่วยเพิ่มขึ้น

ตารางเปรียบเทียบจำนวนครั้งของการนอนรพ ตารางเปรียบเทียบจำนวนครั้งของการนอนรพ.ก่อนและหลังเข้าคลินิกในระยะเวลา 1 ปี N=118 ก่อน 1 ปี (จำนวนครั้ง/ปี) หลัง 1 ปี การนอนพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 40 9 การมารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉินหรือคลินิก 238 49

อัตรา ER-Visit และ Admit ของผู้ป่วย COPD รพ.บุรีรัมย์ คน/ครั้ง/ปี 0.40 0.26 0.17 0.14

อัตราการเกิด Acute exacerbation ของผู้ป่วยCOPD รพ.โนนสะอาด Acute exacerbration : ER visit + admit

อัตราการเกิด acute respiratory failure ในผู้ป่วยCOPD รพ.โนนสะอาด

จำนวนผู้ป่วย COPD AE ที่ รพ. อุตรดิตถ์ รับ REFER จากรพ จำนวนผู้ป่วย COPD AE ที่ รพ.อุตรดิตถ์ รับ REFER จากรพ.ในจังหวัดลดลง จากการสร้างเครือข่ายการดูแลผู้ป่วย COPD การส่งต่อข้อมูลอย่างเป็นระบบ ในแนวทางเดียวกันทั้งจังหวัด www.themegallery.com

R2R : การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย COPD รพ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย

R2R : การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย COPD รพ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย (ต่อ) การนำผลวิจัยไปใช้ในงานประจำ: การศึกษานี้ได้ทำเป็น Clinical tracer ทำให้มองเห็นปัญหาและการพัฒนาในภาพรวมพบว่าระบบการดูแลผู้ป่วย COPD แบบไร้รอยต่อจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรบุคคลมากขึ้น การรักษาผู้ป่วยนอกโดยเฉพาะการรักษาด้วยยาชนิดสูดพ่นมีค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น แต่สามารถลดอัตราการกำเริบของโรคได้จนเป็นที่น่าพอใจ ผลคือ อัตราการมารับการรักษาที่แผนกฉุกเฉิน (Exacerbations)และแผนกผู้ป่วยนอกก่อนเวลานัด (Revisits)ของผู้ป่วยลดลง อัตราการนอนโรงพยาบาลและอัตราการกลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำ(Admissions/Readmissions)ของผู้ป่วยลดลง ค่าใช้จ่ายโดยรวมในการดูแลรักษาระยะยาวจึงลดลง ตรงกันข้ามกับคุณภาพชีวิตและความพึงพอใจของผู้ป่วยที่มากขึ้น.

นโยบาย ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีระบบฐานข้อมูลบริการและสารสนเทศระดับ ประเทศ รองรับการประเมินสถานการณ์และกำกับ ติดตามคุณภาพบริการ ประสานงานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สร้างความตระหนัก ตั้งแต่ระดับบุคคลถึงระดับประเทศ ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจการให้บริการส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสภาพ สนับสนุนการใช้ และเข้าถึงเทคโนโลยีทางการแพทย์อย่างเหมาะสม 15

เป้าหมายการจัดบริการ ป้องกันหรือชะลอการดำเนินโรค บรรเทาอาการ โดยเฉพาะอาการเหนื่อย ทำให้ exercise tolerance ดีขึ้น ทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น ป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ้อน ป้องกันและรักษาอาการกำเริบ ลดอัตราการเสียชีวิต 16

การดำเนินงาน แต่งตั้งคณะทำงานจากทุกภาคส่วนทำหน้าที่พิจารณาการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังแบบครบวงจร ประสานความร่วมมือ สป.สธ. สสส. สมาคมอุรเวชช์ โรงเรียนแพทย์ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อบูรณาการงบประมาณ บุคลากร ทรัพยากร พัฒนาระบบฐานข้อมูลระดับประเทศ : national clinical excellent COPD clinic เสนอตั้งงบกองทุนสนับสนุน ส่งเสริมบริการโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง แยกจากงบเหมาจ่ายรายหัว สนับสนุนการพัฒนา/จัดอบรม ฟื้นฟูความรู้การให้บริการโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังแบบสหสาขาวิชาชีพ 17

การพัฒนาระบบบริการ ส่งเสริม ป้องกัน การหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรค ค้นหา เพื่อวินิจฉัยและให้การรักษาตั้งแต่ระยะแรก ให้ความรู้ผู้ป่วยและครอบครัวเพื่อเพิ่มศักยภาพในการดูแลตนเอง ให้การดูแล รักษาผู้ป่วย โดยไม่เกิดอาการกำเริบ ให้การดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิต ให้การดูแล จนระยะสุดท้ายของชีวิต สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพทีมบุคลากร เพื่อการดูแลแบบองค์รวม สนับสนุนการศึกษาวิจัยจากงานประจำเพื่อพัฒนางานบริการ 18