“สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย” ขรรค์ ประจวบเหมาะ กรรมการผู้จัดการ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 19 พฤศจิกายน 2551 ห้องพิมานแมน โรงแรม Four Seasons
วิกฤติการเงินโลก ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัยไทย
1. ผลกระทบต่อตลาดหุ้น และสถาบันการเงินไทย Set Index ลดลงอย่างต่อเนื่อง - ดัชนีสูงสุดที่ 915.30 จุด (6.93 ล้านล้านบาท) เมื่อ 29 ต.ค.50 และลดลงต่ำสุดที่ 387.43 จุด (3.45 ล้านล้านบาท) เมื่อ 27 ต.ค.51 หรือ ลดลง 57.7% - มูลค่าตลาดหายไปกว่า 3.5 ล้านล้านบาท สถาบันการเงินไทยเสียหายบ้าง - ธนาคารบางแห่งที่ลงทุนในตราสารหนี้ CDOs ในตลาด สหรัฐฯและที่ลงทุนใน Lehman Brothers และ AIG ได้รับผล กระทบส่วนหนึ่ง
2. ผลกระทบต่อการส่งออก การส่งออก ปี 50 ขยายตัว 18.1% ปี 51 คาดว่าขยายตัว 20% ลดลงจากประมาณการเดิม Q4/51 คาดว่าจะขยายตัวลดลงมากเนื่องจากการชะลอตัวทาง เศรษฐกิจประเทศคู่ค้าสำคัญ เช่น สหรัฐ ยุโรป และญี่ปุ่น แนวโน้มปี 52 ขยายตัวลดลงเหลือ 12% จากภาวะเศรษฐกิจ ตกต่ำทั่วโลก
3. ผลกระทบต่อการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวปี 51 มีแนวโน้มหดตัว ปี จำนวนนัก ท่องเที่ยว ตปท.(ล้านคน) %ขยายตัว รายได้จากการ ท่องเที่ยว(ล้านบาท) 2550 14.5 4.6 547,782 13.6 2551_f 13.9 -4.0 530,000 -3.2 เฉพาะเดือน ก.ย. 51 จำนวนนักท่องเที่ยว ตปท. ลดลง -31% จากเดือน ส.ค. 51 แนวโน้มการท่องเที่ยวปี 52 หดตัวจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก
4. ผลกระทบต่อความเชื่อมั่น ดัชนีความเชื่อมั่นรายการที่สำคัญปรับลดลง
5. แนวโน้มเศรษฐกิจไทย ปี 2551-2552 ทุกสำนักปรับลด GDP ปี 51-52 จากประมาณการเดิม ประมาณการล่าสุดปี 51 = 4.3 - 5.7% และปี 52 = 2.9 - 5.4%
6. World GDP 2008 - 2009 ล่าสุด World Bank ประมาณการ world GDP ปี 2009 ที่ 1.0% จากผลกระทบของวิกฤติการเงินโลก
ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัยไทย
อัตราส่วนสินเชื่อต่อเงินฝากของระบบธพ. L/D Ratio
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย เฟดในสหรัฐและหลายประเทศทั่วโลกปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เพื่อสกัดกั้นวิกฤตการเงินโลก เฟดเหลือเพียง 1% กนง. ของไทย ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ 3.75% เมื่อ 8 ต.ค. 51 ประชุมครั้งต่อไป. 3 ธ.ค. 51 ซึ่งคาดว่าจะมีแนวโน้มปรับลดดอกเบี้ย ลงตามแนวโน้มโลก ประกอบกับอัตราเงินเฟ้อและราคาน้ำมัน ผ่อนคลายลงมาก
อัตราดอกเบี้ยนโยบายไทย RP 1 วัน vs Fed Fund Rate สหรัฐ ปัจจุบันส่วนต่างดอกเบี้ย RP 1 วัน กับ FFR = 2.75%
ผลการปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายประเทศต่าง ๆ
สินเชื่อที่อยู่อาศัยคงค้าง สิ้นปี 2551 คาดสินเชื่อคงค้างขยายตัวลดลงจากปี 2550 และมีแนวโน้มขยายลดลงต่อเนื่องในปี 2552
ส่วนแบ่งตลาดสินเชื่อที่อยู่อาศัยคงค้าง
การปล่อยสินเชื่อที่อยู่อาศัย ธอส. ปรับเป้าสินเชื่อลดลง ตามภาวะเศรษฐกิจ เน้นปล่อยสินเชื่อที่มีคุณภาพ สนับสนุนโครงการที่อยู่อาศัยแก่ผู้มีรายได้น้อย ตามนโยบายของรัฐบาล เน้นการระดมเงินฝากระยะยาว ที่มีต้นทุนต่ำ
บทสรุป ผลกระทบต่อตลาดสินเชื่อที่อยู่อาศัย ปัญหาซับไพร์มและวิกฤติการเงินโลก แม้ไม่ส่งผลกระทบตรงต่อ ตลาดที่อยู่อาศัยของไทย แต่ส่งผลกระทบทางอ้อมต่อเนื่อง ได้แก่ ภาวะเศรษฐกิจถดถอย ตลาดหุ้นตกต่ำ การส่งออกและการท่องเที่ยว ชะลอตัวลง กำลังซื้อที่อยู่อาศัยลดลง ฯลฯ ส่งผลให้ การปล่อยสินเชื่อในปี 2551 ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย มีแนวโน้มลดลง ส่งผลต่อเนื่องไปถึงปี 2552 มีความเสี่ยงด้านการชำระหนี้และ NPL เพิ่มขึ้น ผู้ประกอบการมีแนวโน้มชะลอการลงทุนด้านที่อยู่อาศัยออกไป ทำให้ ปี 2552 อาจชะลอตัว