ผู้ผลิต นายเชิดชัย ประโปตินัง ตำแหน่ง ครู คศ. 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
Advertisements

สื่อการเรียนรู้ ความงามของศิลปะด้านจิตรกรรม ศ เรื่อง
น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
น้ำหนักแสงเงาหุ่นนิ่ง
การเขียนรูปร่าง รูปทรงเรขาคณิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ม. 3
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1.
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
แต่งบ้านให้สวย ด้วยสวนงาม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
การรับรู้ข้อมูล กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) ตัวชี้วัดที่ ง ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ โรงเรียนวัดอินทรวิหาร สำนักงานเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.
COMPOSITION องค์ประกอบศิลป์.
สื่อประกอบการเรียนรู้
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
องค์ประกอบ Graphic.
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
การสร้างงานกราฟิก.
ความรู้เบื้องต้น การออกแบบ Media.
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
วิธีดูธนบัตรปลอม จุดสังเกตในธนบัตรรัฐบาล.
แสง สี ไฟ ในภาพยนตร์ Light Color Gaffer
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
การประดิษฐ์นาฬิกาแดด
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
นายเชิดศักดิ์ ตั้นภูมี (คบ. จุฬาฯ กศ.ม. มศว.)
ข้อแนะนำ วันหนึ่ง ฉันขอคำแนะนำจากพระ เจ้า ว่าจะดำเนินชีวิตในโลกนี้อย่างไร.
โครงการพัฒนา ห้องเรียนในฝัน
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
เทคนิคการถ่ายรูปภาพ & วีดีโอ  ภาพที่ออกมาจะไม่มีสั่นไหว  ใช้ขาตั้งกล้อง  สถานที่หรือสิ่งของที่สามารถวางกล้องได้  ถือกล้องด้วย 2 มือให้ข้อศอกอยู่ในระดับหน้าอก.
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
แว่นกรองแสง (Light Filter)
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ให้นักเรียนดูภาพแผนที่ต่อไปนี้ แล้วช่วยบอกด้วยว่าเป็นแผนที่ชนิดใด
แผนการจัดการเรียนรู้
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้ผลิต นายเชิดชัย ประโปตินัง ตำแหน่ง ครู คศ. 1 นายเชิดชัย ประโปตินัง ตำแหน่ง ครู คศ. 1 โรงเรียนคลองมะขามเทศ เขตประเวศ สังกัดกรุงเทพมหานคร

แสงและเงา ภาพแสงและเงาเป็นภาพที่เกิดจากการนำเอาแสงและเงามาประกอบโดยวางตำแหน่งแสงและเงาให้สมดุลกัน ชึ่งจะช่วยให้เกิดภาพที่สวยงามได้

องค์ประกอบของภาพแสงและเงามีดังนี้ 1. แสง แบ่งเป็น 2 ประเภท 1 แสงจากธรรมชาติ เช่น แสงจากดวงอาทิตย์ แสงจากดวงจันทร์ 2 แสงที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น เช่น แสงจากหลอดไฟ แสงจากเทียนไข

2. เงา แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 2. เงา แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 1 เงาในตัวเอง คือ เงาที่เกิดขึ้นในตัววัตถุ 2 เงาตกทอด คือ เงาของวัตถุที่เกิดบนพื้น เงาในตัวเอง เงาตกทอด

การสังเกตแสงและเงาในธรรมชาติและสิงแวดล้อมจะช่วย ในการเขียนภาพแสงและเงาให้ถูกต้องตามความเป็นจริงได้ เช่น ถ้ามีแสงสว่างมาก หรือวัตถุอยู่ใกล้แสงมาก เงาจะเข้มหรือดำ แต่ถ้าแสงอ่อนหรือวัตถุอยู่ไกลแสงมาก เงาก็จะจางลง เป็นต้น

วิธีเขียนภาพแสงและเงาให้เกิดความสวยงาม มีดังนี้ 1. วาดภาพลายเส้นของภาพถ่ายหรือภาพต้นแบบ 2. เขียนน้ำหนักแสงและเงาตามที่เห็นจากภาพต้นแบบ โดยไล่น้ำหนักจากอ่อนไปเข้ม ดังนี้

1 ส่วนที่เป็นแสงสว่างของภาพหรือส่วนที่โดนแสง ให้เขียนเส้นหรือแรเงาบาง

2 ส่วนที่เป็นเงามืดของภาพ ให้เขียนหรือแรเงาเข้มตามลำดับ

สวัสดี

1. จากภาพ หมายเลข 1 เป็นเงาชนิดใด 2 3 A B C D 1. จากภาพ หมายเลข 1 เป็นเงาชนิดใด ก. เงาในตัวเอง ข. เงาตกทอด ค. เงาสะท้อน ง. เงาตกกระทบ

2. หมายเลข 2 เป็นเงาชนิดใด 1 2 3 A B C D 2. หมายเลข 2 เป็นเงาชนิดใด ก. เงาในตัวเอง ข. เงาตกทอด ค. เงาสะท้อน ง. เงาตกกระทบ

3. หมายเลข 3 เป็นเงาชนิดใด 1 2 3 A B C D 3. หมายเลข 3 เป็นเงาชนิดใด ก. เงาในตัวเอง ข. เงาตกทอด ค. เงาสะท้อน ง. เงาตกกระทบ

4. จากภาพแสงส่องเข้ามาจากด้านใด 1 2 3 A B C D 4. จากภาพแสงส่องเข้ามาจากด้านใด ก. A ข. B ค. B ง. D

จบบทเรียน