การเงินการคลัง ปีงบประมาณ ๒๕๕๑. ระบบข้อมูลของปีเดิม  เริ่มระบบเมื่อเดือนเมษายน  ผลการส่งข้อมูล (เดือน กรกฎาคม) ผลการส่งข้อมูล  งบหน่วยงาน ๙๕%  งบลูกข่าย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
Advertisements

ประชุมคณะกรรมการตรวจรับงานฯ คณะที่ปรึกษาโครงการ AM/FM/GIS
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
แนวทางปรับระบบข้อมูล
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
การพัฒนาโครงการ.
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
“ การเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งงบประมาณ หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ”
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
เตรียมความพร้อมการรายงานผลการปฏิบัติการประจำปี 2552 รอบ 12 เดือน.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การสร้างแรงจูงใจและพัฒนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม
เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบัญชีของส่วนราชการประจำปีงบประมาณ พ
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
กองบัญชี สำนักการคลัง รับผิดชอบ ตัวชี้วัด ในมิติที่ 2
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
การอบรมเชิงปฏิบัติการ การตรวจสอบการบริหาร งบประมาณ การเงิน บัญชี และพัสดุ ของสถานศึกษา วันที่ 10 – 11 สิงหาคม 2549 ณ ห้องประชุม อาคาร 3.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
1. ผู้บริหารและคณะกรรมการชุด ต่างๆ มีความมุ่งมั่นในการจัดทำ ระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ใน ระบบบริหารคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
การบริหารการเงินการคลัง
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
สรุปการประชุม เขต 10.
ระบบการรายงาน 0110 รง.5 ปี 2550.
การจัดทำและรายงานข้อมูล แบบ  รง  ปีงบประมาณ 
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ชี้แจงรายการข้ามปีงบประมาณ
สินค้าคงเหลือ.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงบประมาณ
การติดตามประเมินผลและรายงาน_Louis_500227
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
สรุปผลงาน คณะกรรมการบริหารการเงินการคลัง(CFO) เขตบริการสุขภาพที่ 10
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
แผนปฏิรูปงานสำนักงาน เศรษฐกิจการคลัง การพัฒนา ทรัพยากร บุคคล การสร้าง ความเชื่อมั่น และความรู้ ความเข้าใจ ในเชิงรุก การปฏิรูป ระบบงาน และ IT และ IT สศค.
ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
สถานการณ์การเงินการคลัง ประจำเดือน มีนาคม ๒๕๕๗
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
4.1 (ก) การวัดผลการดำเนินการ การเลือก จากการจัดทำแผนกลยุทธ์ ของหมวด 2.1ก (1) ผู้บริหารระดับสูงได้กำหนดตัวชี้วัดหลักของศูนย์ศรีพัฒน์ฯ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์/เป้าหมาย.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ปีงบประมาณ 2558 ครั้งที่ 2 การประชุม CFO จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การพัฒนาข้อมูลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเงินการคลัง ปีงบประมาณ ๒๕๕๑

ระบบข้อมูลของปีเดิม  เริ่มระบบเมื่อเดือนเมษายน  ผลการส่งข้อมูล (เดือน กรกฎาคม) ผลการส่งข้อมูล  งบหน่วยงาน ๙๕%  งบลูกข่าย ๕๘%  เชิงคุณภาพ ยังมีพอควร  งบไม่ดุล / สุทธิผิดด้าน / ความไม่สัมพันธ์กัน งบไม่ดุล สุทธิผิดด้าน งบไม่ดุล สุทธิผิดด้าน  รายงานการเงินแบบบริหาร รายงานการเงินแบบบริหาร  มีการประยุกต์ใช้ในการขอ CF  การใช้ในการตัดสินใจในภาพรวม  ขอความมั่นใจในการใช้ข้อมูล

เป้าหมายของการพัฒนา  ทำรายงานประจำปี ๒๕๕๐ ของหน่วย ให้บริการ  พัฒนาคุณภาพของงบการเงิน (สร้างความเชื่อมั่น)  เชิงปริมาณ.... งบแม่/งบลูก ขอให้ครบถ้วน  คุณภาพ....แผนงานในปีนี้  สร้างทีมงาน/สร้างเครื่องมือ  กระตุ้นการใช้ข้อมูลการเงิน  สร้างโมเดลระบบบริหารที่เหมาะสม

แนวทางในการพัฒนา  ระยะสั้นในปีนี้ คือ  เพื่อภาพรวมของผู้ให้บริการ ปี ๒๕๕๐  ข้อมูลครบแม่/ลูก  ช่วยระวังรายการระหว่างกัน  ระยะยาวปีหน้า คือ  ปรับระบบข้อมูล/เครื่องคอมพิวเตอร์  ข้อมูลที่ต้องการ ขอแบบพันยอดแต่ต้นปีเสมอ  สร้างเครื่องมือใน การวิเคราะห์ / ตรวจสอบ ให้ การวิเคราะห์ตรวจสอบการวิเคราะห์ตรวจสอบ  ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล  สร้างรูปแบบบัญชีบริหาร

ระยะสั้นในปีนี้ คือ  เพื่อภาพรวมของผู้ให้บริการ ปี ๒๕๕๐  ดึงข้อมูลจาก HFO.CFO.IN.TH ที่ดาวน์โลด/ข้อมูลบัญชี (ข้อมูลที่ดึงได้ตามสิทธิของท่าน) ดึงข้อมูลจาก HFO.CFO.IN.TH ดึงข้อมูลจาก HFO.CFO.IN.TH  ข้อมูลเดือนกันยายน ๒๕๕๐  ข้อมูลครบทั้งงบหน่วยงาน/งบลูกข่าย  ช่วยระวังรายการระหว่างกัน  ถ้ายังไม่ครบ/ไม่ตรงกัน  ให้จัดประชุมชี้แจงกัน  ใส่รายการปรับปรุงให้สอดคล้องกันทั้งจังหวัด  ส่งข้อมูลงบทดลองใหม่ทับของเก่า  ดึงข้อมูลใหม่ตรวจสอบจนถูกต้อง  วันสุดท้ายที่ขอให้ถูกต้อง ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๐

การพัฒนาปีหน้า  ปรับเครื่อง Server ใหม่  ฐานข้อมูลใหม่ / เครื่องเร็วขึ้น  ปรับระบบข้อมูล  ไม่สัมพันธ์กันมาก  กระแสเงินสด และ อัตราส่วน คำนวนยาก  ควบคุมความถูกต้องยาก (งบหลังจะถูกเมื่องบก่อนๆถูก)  ทำรายงานเปรียบเทียบยาก  ข้อมูลที่ต้องการ ขอแบบพันยอดแต่ต้นปีเสมอ ขอแบบพันยอดแต่ต้นปีเสมอ  สร้างเครื่องมือใน การวิเคราะห์ / ตรวจสอบ ให้  เพื่อกระตุ้นการใช้งานและพัฒนาในอนาคต  ข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ ข้อมูลเพื่อวิเคราะห์  เครื่องมือเพื่อการตรวสอบ เครื่องมือเพื่อการตรวสอบ

ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล  เพื่อความถูกต้องเชิงคุณภาพแลปริมาณ  เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้ใช้งบการเงินของเรา  สร้างทีมงานพี่เลี้ยงระดับจังหวัด / ระดับเขต  อบรมความรู้และช่วยกันสร้างระบบ  สร้างคู่มือ/เครื่องมือเบื้องต้นในการตรวจสอบ  เป้าหมาย  งบหน่วยงาน / งบลูกข่ายครบถ้วน  ความถูกต้องพอควร ตามคู่มือที่ร่วมกันสร้าง  ตัวอย่างเครื่องมือตรวจเบื้องต้น ตัวอย่างเครื่องมือตรวจเบื้องต้น

โครงการพัฒนาระบบบริหาร  สร้างรูปแบบการพัฒนาระบบบัญชี บริหาร  ทดลองในโรงพยาบาล  วางระบบงบประมาณ  ระบบรายงานด้วย Segment Report  ระบบประเมินผล

สรุปสิ่งที่ต้องดำเนินการ 1) กำหนดสิทธิพี่เลี้ยงจังหวัด และพี่เลี้ยงเขต (วันนี้) 2) ตรวจสอบข้อมูลเดือนกันยา ๕๐ ( ๑๕ พย.๕๐) 1) ให้ครบถ้วนทั้งงบหน่วยงานและงบรวมลูกข่าย 2) ปรับปรุงรายการระหว่างกันภายในจังหวัดให้ดุลย์ 3) ในปี ๕๑ ให้ส่ง งบทดลองแบบพันยอดตั้งแต่ต้นปี เสมอ ( งบ ตค. ๕๐ เป็นต้นไป) 1) ส่วนกลางจะวิเคราะห์/ทำรายงาน กลางและปลายปี 4) พัฒนาความถูกต้องของข้อมูล โดยโครงการพี่เลี้ยง 5) ประยุกต์ใช้ข้อมูลโดย ดึงข้อมูลกลับไปใช้ได้