สหภาพยุโรปในฐานะมหาอำนาจระดับกลางและบทบาทต่อการเมืองโลก กษิร ชีพเป็นสุข อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงร่างการบรรยาย ลักษณะและความหมายของมหาอำนาจระดับกลาง (middle power) กิจกรรมของสหภาพยุโรปในฐานะมหาอำนาจระดับกลาง
บทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของมหาอำนาจระดับกลางในยุคหลังสงครามเย็น บทบาทของมหาอำนาจระดับกลางในยุคก่อนสงครามเย็นสิ้นสุด บทบาทของมหาอำนาจระดับกลางในยุคหลังสงครามเย็น เผยแพร่แนวคิดใหม่ๆ เพื่อเติมเต็มช่องว่างทางนโยบายของมหาอำนาจ การเพิ่มขึ้นของจำนวนและบทบาทองค์กรนอกภาครัฐ
สรุปลักษณะของมหาอำนาจระดับกลาง เป็นการจัดรูปแบบทางการเมืองที่มีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและการเมืองพอสมควร และมีอิสระในการดำเนินนโยบาย แต่ไม่มีความเห็นพ้องในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศว่าอยู่ในระดับมหาอำนาจระดับโลก เป็นผู้มีบทบาทเด่นชัดในทางการเมืองระหว่างประเทศ บทบาทนั้นๆ มักเป็นไปในทางมีคุณค่าหรือศีลธรรมบางอย่างกำกับอยู่ และมักถือว่าบทบาทเหล่านี้เป็นแก่นของนโยบายต่างประเทศของตน เปิดโอกาสให้ภาคประชาสังคมและองค์กรนอกภาครัฐเข้าร่วมแสดงความคิดเห็นได้ในอัตราสูง และมีความสมัครใจร่วมมือกับตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐดังกล่าวเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ในแนวนโยบายที่วางไว้
ความสำคัญของอัตลักษณ์ต่อบทบาทมหาอำนาจระดับกลางของสหภาพยุโรป ความหมายของอัตลักษณ์ ความผูกพันทางด้านการรับรู้ ด้านสังคม ด้านอารมณ์ และด้านอื่นๆ ที่จับต้องไม่ได้ระหว่างรัฐ สิ่งนี้ได้สร้างบทบาทของรัฐเหล่านี้ต่อกันและกัน และทำให้รัฐมีแนวคิดหรือคำจำกัดความให้แก่ตัวเองได้ (Ashmore and Jussim) ประเภทของอัตลักษณ์ Tangible: ความสามารถทางเศรษฐกิจ ทางกำลังทหาร สัญลักษณ์รูปธรรม Intangible: คุณค่า วัฒนธรรม บรรทัดฐาน
อัตลักษณ์กับสหภาพยุโรป Copenhagen Summit 1973 การสร้างความชอบธรรมให้แก่การบูรณาการ บรรทัดฐาน/คุณค่าร่วมกัน VS อัตลักษณ์ประจำชาติ
อัตลักษณ์เชิงรูปธรรมที่สำคัญของสหภาพยุโรป ธงของสหภาพยุโรป
อัตลักษณ์เชิงรูปธรรมที่สำคัญของสหภาพยุโรป (ต่อ) เพลงประจำสหภาพยุโรป (European Anthem) วันประจำยุโรป 9 พฤษภาคม คำขวัญของสหภาพยุโรป: ‘United in Diversity’ ประเด็นรัฐธรรมนูญยุโรป
อัตลักษณ์เชิงรูปธรรมที่สำคัญของสหภาพยุโรป (ต่อ) เงินยูโร
อัตลักษณ์เชิงคุณค่าที่สำคัญของสหภาพยุโรป สิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย หลักกฎหมาย ประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อม การให้ความช่วยเหลือ
กิจกรรมของสหภาพยุโรปในฐานะมหาอำนาจระดับกลางภายใต้กรอบนโยบายร่วมกัน Enlightened self-interest 2003 European Security Strategy ความรับผิดชอบของสหภาพยุโรปต่อโลก 2005 EU Strategy on Africa ความสำคัญของการสร้างหุ้นส่วน (partnership)
บทบาทในการรักษาสันติภาพและความมั่นคง การเจรจาสันติภาพในตะวันออกกลาง วิกฤตการณ์ยูโกสลาเวีย กองกำลังปฏิบัติการรักษาสันติภาพ เครื่องมือในการดำเนินนโยบายต่างประเทศด้านรักษาสันติภาพและความมั่นคง European Development Fund Common Foreign and Security Policy ความร่วมมือกับองค์กรนอกภาครัฐ African Peace Facility
แนวนโยบายที่ถูกกำกับด้วยอัตลักษณ์หรือคุณค่าของมหาอำนาจระดับกลาง การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน กรณีรณรงค์ต่อต้านโทษประหารชีวิต การส่งเสริมคุณค่าประชาธิปไตย กรณี European Neighbourhood Policy การขาดดุลทางประชาธิปไตย (Democratic Deficits) ภายในองค์กร
สรุป คำถาม...