โรงพยาบาลถอดปลั๊ก เบอร์หนึ่งด้านพลังงาน บริการเป็นเยี่ยม โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล โรงพยาบาล ถอดปลั๊ก โรงพยาบาลถอดปลั๊ก เบอร์หนึ่งด้านพลังงาน บริการเป็นเยี่ยม
ที่ปรึกษา : อาจารย์วุฒิพงษ์ ลาภทวี คณะกรรมการโรงพยาบาล “ถอดปลั๊ก” ที่ปรึกษา : อาจารย์วุฒิพงษ์ ลาภทวี คณะกรรมการโรงพยาบาล “ถอดปลั๊ก”
คุณสมชัย ยิ้มศิริ อ. วุฒิพงษ์ ลาภทวี ประธานคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน อาจารย์ที่ปรึกษา คุณสมชัย ยิ้มศิริ อ. วุฒิพงษ์ ลาภทวี คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงานโรงพยาบาลถอดปลั๊ก ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายวิศวกรรมและเทคโนโลยี ฝ่ายบริหารจัดการเชื้อเพลิง ฝ่ายสิ่งแวดล้อม ฝ่ายพัสดุและจัดซื้อ คุณมาโนช เลี้ยงจอหอ คุณวิศิษฐ พลวรรณ คุณคำนวณ วันโน คุณนิชิต เสนไชย คุณธิดารัตน์ โง่ยเตจา คุณบุญฤทธิ์ อ้วนวงษ์ คุณอุไรวรรณ ใจจังหรีด คุณอรสา ภูพุฒ คุณพิเชฏฐ์ วงศ์มาศ คุณประชุม บำรุง คุณยุทธนา สุภาปัญญากุล คุณอนุพงษ์ เล็กดา เลขาฯ คุณจีรพรรณ แสงยศ คุณสุนทร นาเมืองรักษ์ คุณประจักษ์ เพ็ชรหมื่นไวย
ฝ่ายตรวจประเมิน คุณธวัชชัย กุระนาม คุณจิราพร ศิริโชค โรงพยาบาลถอดปลั๊ก
นโยบายอนุรักษ์พลังงานของ โรงพยาบาลถอดปลั๊ก 1. ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่ไม่จำเป็นปี 2556 ให้ต่ำกว่าปี 2555 ได้อย่างน้อยร้อยละ 10 ต่อพื้นที่ เผยแพร่นโยบายให้ทุกคนรับทราบและมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง โดยให้การอนุรักษ์พลังงานเป็นยุทธศาสตร์โรงพยาบาล 2. ดำเนินการและพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานอย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการพลังงาน 3. เป็นอาคารที่เป็นเลิศทางด้านการจัดการพลังงานเพื่อเป็น ตัวอย่างแก่ภาครัฐและเอกชนให้ได้ภายในปี 2556 4. กำหนดแนวทางในการจัดสรรทรัพยากรอย่างพอเพียง โดยไม่กระทบต่อคุณภาพการบริการ 5.
ผังพื้นที่รับผิดชอบ หอผู้ป่วยพิเศษ ชั้น 15
ผังพื้นที่รับผิดชอบ หน่วยผ่าตัด 4
ผังพื้นที่รับผิดชอบ ห้องควบคุม
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM
ผลการวิเคราะห์และแนวทางแก้ไขตาม EMM การกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ จุดแข็ง มีการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้กับ พนักงานทุกระดับประมาณร้อยละ 50 นำมาตรการอนุรักษ์พลังงานจัดทำเป็น ตัวชี้วัดรายบุคคลของพนักงานทุกระดับ เพื่อให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ พลังงาน จุดที่สามารถพัฒนาได้ ควรมีการจัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้นให้ พนักงานทุกระดับเกิดจิตสำนึกและความ ภาคภูมิใจที่มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ พลังงานอย่างแท้จริง
ผลการวิเคราะห์และแนวทางแก้ไขตาม EMM ระบบข้อมูลข่าวสาร จุดแข็ง มีระบบการจัดเก็บข้อมูลของคณะทำงาน และผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน มีการสื่อสารถึงพนักงานจำนวนมากผ่าน การอบรม และระบบการกระจายข่าวสาร ในหน่วยงานย่อยอีกครั้ง จุดที่สามารถพัฒนาได้ ควรมีการจัดระบบการจัดเก็บและการสื่อสาร ข้อมูลเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน ระหว่าง ผู้บริหารและพนักงานอย่างชัดเจน ควรมีระบบการติดตาม ประเมินผล และ มาตรการปรับปรุงแก้ไขผลการแก้ไขอย่างเป็น รูปธรรมและต่อเนื่อง
ผลการวิเคราะห์และแนวทางแก้ไขตาม EMM การประชาสัมพันธ์ จุดแข็ง มีการเผยแพร่ข้อมูลการดำเนินการโครงการ อนุรักษ์พลังงาน และการจัดการพลังงานแก่ พนักงานบางระดับอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงานโดยตรง จุดที่สามารถพัฒนาได้ ควรมีการเผยแพร่โครงการอนุรักษ์พลังงาน อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง โดยเน้นให้เห็น ถึงคุณค่าของการประหยัดพลังงานของ พนักงานทุกระดับ สร้างความภาคภูมิใจแก่พนักงานที่มีส่วน ร่วมทุกคน
ผลการวิเคราะห์และแนวทางแก้ไขตาม EMM การลงทุน จุดแข็ง สามารถประหยัดพลังงาน โดยใช้มาตรการอนุรักษ์ พลังงานที่มีต้นทุนต่ำ เช่น การปรับเปลี่ยนระบบ การทำงาน การปรับแต่งเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ เป็นต้น จุดที่สามารถพัฒนาได้ ควรมีการลงทุนในมาตรการอนุรักษ์พลังงาน เพิ่มขึ้น โดยการจัดสรรงบประมาณประจำปี พิจารณาถึงความสำคัญและความเป็นไปได้ใน แต่ละโครงการ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพื่อเป็น หน่วยงานตัวอย่างด้านการลงทุนอนุรักษ์พลังงาน ที่ให้ผลตอบแทนคุ้มค่า และมีคุณค่าต่อสังคม
มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : หลอดไฟแสงสว่างตามทางเดิน 140 หลอด พิกัดกำลังไฟฟ้า = 41 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 50282.4 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. ลดจำนวนหลอดลง 80 หลอด(โดยใช้ลักซ์มิเตอร์วัดค่าความสว่างให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน) ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 80 x 41 x 24 x 365 ) / 1000 = 28732.8 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.7 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ =28732.8 x 3.7 = 106311.36 บาท
ลดหลอดไฟทางเดินพร้อมเปลี่ยนเป็น T5 ผลสำรวจ : หลอดไฟแสงสว่างตามทางเดิน 117 หลอด พิกัดกำลังไฟฟ้า = 41 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 14,007.24 หน่วย/ปี คิดเป็นเงิน = 51826.778 บาท/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. ลดจำนวนหลอดลง 39 หลอด(โดยใช้ลักซ์มิเตอร์วัดค่าความสว่างให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน) ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 39 x 41 x 8 x 365 ) / 1000 = 4,669.08 หน่วย/ปี คิดเป็นเงิน =17275.596 บาท/ปี คงเหลือหลอดใช้งาน 78 หลอด พลังงานไฟฟ้า = ( 78 x 41 x 8 x 365 ) / 1000 = 9338.16 หน่วย/ปี คิดเป็นเงิน =34551.192 บาท/ปี
ลดหลอดไฟทางเดินพร้อมเปลี่ยนเป็น T5 (ต่อ) พลังงานไฟฟ้า =(39 x 59 x 8 x 365 )/1000 = 6718.92หน่วย/ปี คิดเป็นเงิน = 24860 บาท/ปี ผลประหยัดต่อปี = 9691.192 บาท/ปี เงินลงทุน = 16770 บาท ระยะคุ้ม = 1.73 ปี
ติดตั้ง VSD กับระบบปั๊ม 1. ลดความถี่มอเตอร์จากปกติเป็น 40 Hz เดิมตั้งความถี่มอเตอร์ที่ 50 Hz ชั่วโมงการทำงาน 24 ชั่วโมง ก่อนดำเนินการ 50 Hz = 37 KW x 1 ตัว x 24 H = 888 KW /วัน หลังปรับลดความถี่ 40 Hz = 19..1 KWh x 1 ตัว x 24 H = 458.4 KWh\วัน ผลประหยัดพลังงาน = 888 – 458.4 = 429.6 KWh\วัน ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย = 3.7 บาท/ KWh คิดเป็นเงินที่ลดลงได้ = 429.6x 3.70 = 1,589.52 บาท/วัน = 47,685.6 บาท/เดือน = 580,174.8 บาท/ปี เงินลงทุนประมาณ = 250000 บาท ระยะคุ้มทุน = 0.43 ปี
มาตรการอื่นๆ สำรวจความต้องการอุปกรณ์ที่ช่วยลดการใช้พลังงานที่ไม่จำเป็นทั้งองค์กรเพื่อนำเสนอพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในคราวเดียวกัน 1 นำผลสำเร็จในการประหยัดพลังงานไปสู่การปฏิบัติในครอบครัวและชุมชน 2 นำกิจกรรม 5 ส / 3R สู่การปฏิบัติต่อเนื่องยั่งยืน 3 จัดการขยะรีไซเคิลให้ได้ผลคืนสู่ผู้ปฏิบัติ 4
แผนการดำเนินงาน
แผนการตรวจติดตาม
สิ่งที่ได้รับจากการอบรม และสามารถนำกลับไปใช้ได้เลย การปรับวาล์วน้ำประปาให้อยู่ระดับกลางๆสามารถลดปริมาณน้ำที่ใช้ต่อครั้งและความเร็วของมิเตอร์ได้ 1 การแปรงฟันโดยใช้แก้วรองน้ำในปริมาณที่น้อยกว่าเดิม 2 เลือก Charge battery อุปกรณ์ ในช่วงเวลา off peak 3 เมื่อจะมีกิจกรรมจึงเปิดไฟ เช่น แพทย์มาตรวจจึงเปิดไฟ เป็นต้น 4 นำความรู้เรื่อง EMM ไปประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานในองค์กร เพื่อนำไปพัฒนา 5
ความในใจ โรงพยาบาลศรีนครินทร์เป็นต้นแบบที่ดี 1 2 ลดพลังงานที่ทำงานสามารถเพิ่มเงินท่านได้
สมาชิกกลุ่มที่ 3 “ถอดปลั๊ก” ขอบคุณ