กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง (ICCPR)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
4. สถาบันการเมืองการปกครอง
Advertisements

การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ข้อเสนอว่าด้วย ระบบเลือกตั้งและสถาบันการเมือง
ประชุมคณะทำงานและคณะ เลขาฯ การจัดทำรายงาน UNGASS ธันวาคม 2550.
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
ค่าเบี้ยประชุม สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
ประชุมคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดลำปาง (ก.บ.จ.)
สิทธิมนุษยชน กับ ความหลากหลายทางเพศ
รองศาสตราจารย์ ระพีพรรณ คำหอม
ปฏิญญาหาดใหญ่ (Hatyai Declaration)
กฎหมายเบื้องต้น.
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
สังคมศึกษา.
ปฏิทินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยฯ
วันที่ 25 มีนาคม 2556.
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
บทที่ ๒ พัฒนาการของรัฐธรรมนูญนิยม (CONSTITUTIONALISM)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาสามชั้น
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการตั้งครรภ์แทน
การเลือกตั้ง (Election)
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
การประชุมOEC-4R ครั้งที่ 11/ DECEMBER 53
กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
การเมืองการปกครองรัชกาลที่ 7
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
กลุ่มการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ด้อยโอกาส สำนักส่งเสริมและพิทักษ์
สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก
กรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐาน และการตรวจสอบและรับรอง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards.
ประชาคมอาเซียน.
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
การเตรียมความพร้อม ก่อนเข้าสู่ตำแหน่ง ตาม พ. ร. บ
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
ของข้าราชการตำรวจ บก.อก.บช.ศ.
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การปฏิบัติงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สัญลักษณ์ของอาเซียนคืออะไร
จุดเริ่มต้นของอาเซียน
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract)
Globalization and the Law II
Globalization and the Law III
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 10/2552 เรื่อง ประเภท ขนาด เงื่อนไข และสิทธิประโยชน์ของแต่ละประเภทกิจการ ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
บทบาทด้านนิติบัญญัติ
แนวทางการปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการให้สิทธิ(คืนสิทธิ)ขั้นพื้นฐานด้านสาธารสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ หิรัญญา ปะดุกา กลุ่มประกันสุขภาพ.
จำนวนคณะกรรมาธิการที่ส่งประเด็น ณ วันที่ 10 ธันวาคม 2557 เวลา น. คณะกรรมาธิการปฏิรูปจำนวน - การเมือง20 - การบริหารราชการแผ่นดิน11 - กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม12.
สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะ ในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ของคณะกรรมาธิการ ๑๘ คณะ จำนวน ๒๔๖ ประเด็น 1 ข้อมูลสรุป ณ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๒๒.๓๐ นาที
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
สถาบันการเมืองการปกครอง
ความสัมพันธ์ไทยกับ อาเซียน 22 ธันวาคม อาเซียน.
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
นำเสนอโดย : นางนันทิยา วาสุกรี
แม้อาเซียนจะมิได้มีสนธิสัญญาหรือกฎบัตรมา ตั้งแต่ต้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาเซียนก็ได้ พัฒนาความร่วมมือโดยอาศัยฐานในทาง กฎหมายระหว่างประเทศมากขึ้น เช่น.
1. ประกาศรับสมัครคัดเลือกภายในวันจันทร์ที่ 19 ม. ค รับสมัครคัดเลือกวันจันทร์ที่ 26 ม. ค.- วันอาทิตย์ที่ 1 ก. พ.2558 ( ไม่เว้นวันหยุดราชการ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การสุขศึกษา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาตรฐานงานสุขศึกษา
1 เบี้ยประชุมกรรมการ. 2 ยกเ ลิก 1. พ. ร. ฎ. เบี้ยประชุมกรรมการ พ. ศ พ. ร. ฎ. เบี้ยประชุมและ ค่าตอบแทนที่ปรึกษา ซึ่ง นายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง พ. ศ.
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
หนี้ของ สมาชิก ทั้งหมด หนี้ของสมาชิกทุก สัญญารวมกันไม่เกิน หนึ่งแสน สำรวจครั้ง แรก ก่อน 30 สิงหาคม 2551 สำรวจเพิ่มเติมถึง วันที่ 30 กันยาน 2551 ( ไม่เกิน.
การพัฒนาองค์กรสตรี กรมการพัฒนาชุมชน ดําเนินการ พัฒนาสตรีมาพร้อม ๆ กับการก่อตั้งกรมฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สตรี พัฒนาครอบครัว พัฒนาอาชีพ.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
กรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ
สไลด์การอภิปรายทิศทางฯงานสิทธิฯของพม.
บ่อเกิดแห่งสิทธิประเภทของสิทธิเสรีภาพสิทธิมนุษยชน สิทธิพลเมือง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง (ICCPR) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง  (ICCPR)

กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เป็นสนธิสัญญาพหุภาคี ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้ให้การรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2509 และมีผลใช้บังคับเมื่อ 23 มีนาคม พ.ศ. 2519

สนธิสัญญานี้ให้คำมั่นสัญญาว่าภาคีจะเคารพสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองของบุคคลซึ่งรวมถึงสิทธิในชีวิต เสรีภาพในศาสนา เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการรวมตัว สิทธิเลือกตั้ง

และสิทธิในการได้รับการพิจารณาความอย่างยุติธรรม จนถึงเดือนตุลาคม พ. ศ และสิทธิในการได้รับการพิจารณาความอย่างยุติธรรม จนถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 กติการะหว่างประเทศนี้มีประเทศลงนาม 72 แห่งและภาคี 165 แห่ง

ICCPR เป็นส่วนหนึ่งของ "International Bill of Human Rights" ร่วมกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights หรือ UDHR) และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights หรือ ICESCR) ICCPR เป็นส่วนหนึ่งของ "International Bill of Human Rights" ร่วมกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights หรือ UDHR)

และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights หรือ ICESCR)

กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนี้ติดตามตรวจสอบโดยคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน (Human Rights Committee) (หน่วยงานต่างหากจากคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (United Nations Human Rights Council)

ซึ่งได้แทนที่ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (United Nations Commission on Human Rights) ภายใต้กฎบัตรสหประชาชาติใน พ.ศ. 2549) ซึ่งตั้งขึ้นอย่างถาวร

เพื่อพิจารณารายงานตามกำหนดเวลา ที่ส่งเข้ามาโดยรัฐสมาชิกตามข้อตกลงในสนธิสัญญา สมาชิกของคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนนั้นจะคัดเลือกโดยรัฐสมาชิก แต่ไม่ได้เป็นตัวแทนของรัฐใด ๆ

ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีของสนธิสัญญานี้โดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2539 และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2540

คำถาม

1.กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองซึ่งมีการรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2509 แต่มีผลบังคับใช้เมื่อใด ก. 23 มีนาคม พ.ศ. 2519 ข. 23 ตุลาคม พ.ศ. 2509 ค. 14 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ง. 12 ธันวาคม พ.ศ. 2555

ผิดครับ เสียใจด้วย กลับไปข้อเดิม

ถูกต้องครับ ข้อถัดไป

2. ICCPR ย่อมาจากคำว่าอะไร ก.ข้อบังคับของการมีสิทธิทางการเมืองและเสรีภาพ ข. ข้อบังคับของการมีเสรีภาพ ค. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ง. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางการเมืองและเสรีภาพ

ผิดครับ เสียใจด้วย กลับไปข้อเดิม

ถูกต้องครับ ข้อถัดไป

3.กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนี้ติดตามตรวจสอบโดยหน่วยงานใด ก. กรมการขนส่งทางบก ข. คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน ค. คณะ สสร. ง. สมาชิกสภาแก้ไขสิทธิมนุษยชน

ผิดครับ เสียใจด้วย กลับไปข้อเดิม

ถูกต้องครับ ข้อถัดไป

4. สมาชิกของคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนนั้นจะถูกคัดเลือกโดยใคร ก. รัฐสภา ค. ประชาชน ข. ประธานรัฐสภา ง. นายยกรัฐมนตรี

ผิดครับ เสียใจด้วย กลับไปข้อเดิม

ถูกต้องครับ ข้อถัดไป

5. ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีของสนธิสัญญานี้โดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่เท่าใด ก. 25 ธันวาคม พ.ศ. 2436 ข. 2 มิถุนายน พ.ศ. 2543 ค. 14 สิงหาคม พ.ศ. 2537 ง. 29 ตุลาคม พ.ศ. 2539

ผิดครับ เสียใจด้วย กลับไปข้อเดิม

ถูกต้องครับ ผู้จัดทำ

ผู้จัดทำ สิ้นสุดการนำเสนอ นาย วุฒิภัทร เรืองศรี ม.6/2 เลขที่ 3 นาย วุฒิภัทร เรืองศรี ม.6/2 เลขที่ 3 นาย ยศวรรธน์ สิงห์หา ม.6/2 เลขที่ 5 นาย พฤกษา ศรีทอง ม.6/2 เลขที่ 22 นาย ชรินทร์ นวลจันทร์ ม.6/2 เลขที่ 28