งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สไลด์การอภิปรายทิศทางฯงานสิทธิฯของพม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สไลด์การอภิปรายทิศทางฯงานสิทธิฯของพม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สไลด์การอภิปรายทิศทางฯงานสิทธิฯของพม.

2 การอภิปรายเรื่อง “ทิศทางและเป้าหมายการทำงานเพื่อพัฒนางานด้านสิทธิมนุษยชนของกระทรวงพ.ม.” ในการประชุมปฏิบัติการ “การพัฒนางานแผนสิทธิมนุษยชนของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์” โดย นายพิทยา จินาวัฒน์ ที่ปรึกษาด้านส่งเสริมสิทธิฯกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ที่ปรึกษาสำนักงานปปส. ที่ปรึกษาสำนักกิจการในพระดำริ พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิตติยาภา (โครงการกำลังใจ) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ อนุกรรมการสิทธิกระบวนการยุติธรรม ในกรรมการสิทธิมนุษยชนฯ,อนุกรรมการฯ กกต.ฯลฯ อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม และอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ อดีตที่ปรึกษาด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดและรองเลขาธิการปปส. อดีตกก.ผู้ทรงคุณวุฒิในกก.ปปง.ฯ

3 ประเด็นในการอภิปราย ๑) ปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงพม.
๒) บทบาทของกระทรวงพม.กับงานด้านสิทธิมนุษยชน - ความสำเร็จ ความคืบหน้าที่ผ่านมา - ปัญหาอุปสรรค งานที่ท้าทาย - ข้อเสนอแนะของประเทศต่างๆที่ให้กับประเทศไทยในการประชุมรายงานUPR ๓) ทิศทางและเป้าหมายในระยะสั้นและระยะยาว - กรอบทิศทางการดำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนฯ - แนวทางการขับเคลื่อนงานสิทธิมนุษยชน ๔) สรุป

4 สิทธิมนุษยชนเกี่ยวข้องกับชีวิตคนในทุกมิติ เป็นภารกิจที่น่าภูมิใจของกระทรวงพม.
สังคม/รัฐ การพัฒนาสังคม (ระดับต่างๆ) ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายต่างๆในสังคม เหยื่อค้ามนุษย์ แรงงาน ข้ามชาติ ชุมชน Sex worker สิทธิชุมชน ครอบครัว ผู้แสวงหา ที่พักพิงลี้ภัย คนไร้สถานะ ขอทาน คน (ตั้งแต่อยู่ในท้องแม่ เกิดออกมา เด็ก ถูกทอดทิ้งพิการ ทำงาน ป่วยแก่ชรา จนตาย) กองทุนฯ ความมั่นคงของมนุษย์ (ทุนมนุษย์,การพัฒนามนุษย์ในมิติต่างๆ) คนเร่ร่อน คนไร้สิทธิ เด็กถูกทอดทิ้ง LGBT พ่อ แม่ เลี้ยงเดี่ยว คนเข้าเมือง ไม่ถูกก.ม. ความหลากหลายของคนในชุมชน ก.ม. กฎกติกาฯ

5 ปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนที่ท้าทายกระทรวงพ.ม. (โจทย์)
๑. ปัญหาด้าน สิทธิเด็ก สตรี และความเสมอภาคทางเพศของบุคคล - เด็กด้อยโอกาส ถูกทอดทิ้ง อยู่นอกระบบ เด็กเร่ร่อน (๓๐,๐๐๐ คน) ลูกแรงงานข้ามชาติ (๒๕๐,๐๐๐ คน) เด็กติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ถูกบังคับใช้แรงงาน บริการทางเพศ ติดยา ขายยาฯ - ผู้หญิง ถูกเลือกปฏิบัติ ถูกกระทำความรุนแรง ขายบริการ ใช้/ติดยา ค้ายา ติดคุกมากเป็น อันดับ ๑-๒ ของโลก มีการตีตราฯ - ความเสมอภาคทางเพศยังมีปัญหา ยังมีการตีตรา เลือกปฏิบัติฯ ๒. ประเด็นสิทธิผู้สูงอายุ คนพิการ และการสาธารณสุข - คนพิการ ไม่ได้รับโอกาสการศึกษา การทำงาน เข้าไม่ค่อยถึงบริการรัฐ เอกชน - คนชรา เพิ่มสูงขึ้น แนวโน้มพึ่งพาผู้อื่นเพิ่มขึ้น ๓. สรุป ไม่ได้พัฒนาศักยภาพ ความเสมอภาคในโอกาสยังน้อย ถูกละเมิดสิทธิฯมาก ความ มั่นคงของ(ทุน)มนุษย์ยังมีช่องว่าง แนวโน้มสัดส่วนการดูแลผู้พึ่งพิงในสังคมไทยสูงขึ้น

6 บทบาทของกระทรวงพ.ม.กับงานด้านสิทธิมนุษยชน
ชื่อกระทรวง บ่งบอกถึงภารกิจ และจุดเน้นของการดำเนินงาน - ความมั่นคงของมนุษย์(Human Security) - การพัฒนามนุษย์ (Human Development) - การพัฒนาสังคม (Social Development) ภารกิจกระทรวงฯสอดคล้องกับงานสิทธิมนุษยชน - ดูแล พัฒนา คุ้มครองตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา คลอดออกมา เป็นเด็ก เยาวชน วัย ทำงาน มีครอบครัว อาจเจ็บป่วย พิการ แก่ชรา จนจากโลกนี้ไป - และยังดูแล พัฒนา และคุ้มครองกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงต่อการถูกละเมิดสิทธิฯ) เป็นเจ้าภาพ/แกนกลางในการดำเนินงานตามอนุสัญญาฯคุ้มครองสิทธิฯ ๓ ฉบับ และมี บทบาทสำคัญในการดำเนินงานตามอนุสัญญาอื่นๆ เช่น การขจัดการเลือกปฏิบัติฯ มีจุดแข็งมากในเรื่อง แนวคิด แนวทางการดำเนินงานกับประชาชนที่หลากหลาย ผู้ด้อยโอกาส กลุ่มที่เสี่ยงต่อการถูกละเมิด และการมีกลไก เครื่องมือ รวมทั้งเครือข่ายฯ

7 การคุ้มครองในกระบวนการยธ.
ขอบเขตของการคุ้มครองสิทธิฯ : ประชาชนได้รับคุ้มครองตั้งแต่ เกิดจนตาย คุ้มครองสิทธิฯ ด้านการเลี้ยงดู การศึกษา การรักษาพยาบาล การทำงาน กระบวนการยุติธรรม การเมืองฯ การเลี้ยงดู การศึกษา การคุ้มครองในกระบวนการยธ. การทำงาน การเลือกตั้ง การรักษาพยาบาล กลุ่มชาติพันธ์ สิทธิชุมชน สิทธิเด็ก สิทธิปชช.ทั่วไป สิทธิสตรี สิทธิแรงงาน สิทธิคนพิการ คนชรา เกิด ทารก เด็ก/เยาวชน วัยทำงาน มีคู่ครอง มีบุตร/ธิดา วัยกลางคน คนชรา ตาย

8 เครือข่ายองค์กรที่มีบทบาทในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพแก่ประชาชน
องค์กรหลักตามรัฐธรรมนูญปี ๒๕๕๐, ๕๙ กรรมการสิทธิมนุษยชนฯ ศาลรัฐธรรมนูญ ปัจจุบันมีผลงานเป็นคำพิพากษา คำวินิจฉัยฯออก มามากแล้ว เป็นกรอบในการทำงานฯ ผู้ตรวจการแผ่นดิน ศาลปกครอง พม.ดูแลความมั่นคงมนุษย์ ปชช. กลุ่มเสี่ยง ผู้ถูกละเมิดสิทธิฯ กรมคุ้มครองสิทธิฯ ศาลยุติธรรม (มีหน่วยงานไกล่เกลี่ย) องค์กรฯตามก.ม.อื่น สภาทนายความ ปชช.สามารถไปขอ รับบริการจากองค์กรคุ้มครองสิทธิฯเหล่านี้ ซึ่งมีจุดแข็ง จุดอ่อนต่างกันไป ภาคประชาสังคม(สื่อ,NGO,นักวิชาการฯ) กก.รับเรื่องราวร้องทุกข์ของกระทรวงต่างๆ และกระทรวงหลัก : พม. สธ,ศธ. มทฯ อัยการ สคช.

9 ขอบเขต เนื้องานของการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ก่อนเกิดละเมิดสิทธิ/ข้อพิพาท เริ่มมีข้อพิพาทขึ้น มีการฟ้องศาลหรือใช้วิธีอื่น ก่อนเกิดปัญหา (ต้นน้ำ) เริ่มเกิดปัญหา (กลางน้ำ) เกิดปัญหา ผลกระทบเกิดขึ้น (ปลายน้ำ) ๑. การป้องกัน เฝ้าระวังไม่ให้ถูกละเมิดสิทธิ ๒.คุ้มครอง แทรกแซง ไกล่เกลี่ยถ้ามีการละเมิดสิทธิ ๓.ช่วยเหลือ เยียวยา ฟื้นฟู เหยื่อ/ผู้เสียหาย ๔. การสร้างหลักประกันให้แก่ประชาชนมั่นใจว่าจะได้รับการคุ้มครองสิทธิฯ (มีก.ม.,มีหน่วยงานดูแล,เป็นกลาง,โปร่งใส,รวดเร็ว,มีการตรวจสอบจากหน่วยอื่นฯ)

10 สิทธิและเสรีภาพของประชาชนที่รัฐกำหนดไว้ VS สิทธิมนุษยชนตามหลักสากล
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน กฎบัตร UN สิทธิมนุษยชน สากลตามที่ UN กำหนดไว้ อนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนฯ ๙ ฉบับ ข้อตกลงระหว่างประเทศอื่นที่มีลักษณะสนับสนุนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน เช่น อนุสัญญาฯแรงงาน สิทธิเสรีภาพของประชาชนในช่วงที่มีรัฐบาลมาจากการรัฐประหาร สิทธิเสรีภาพของประชาชน ในประเทศนั้น (ตามที่ก.ม.ของประเทศนั้นกำหนดไว้ (เช่น รัฐธรรมนูญฯ, พรบฯ.,ปอ.,ปวิอ.ไทย)

11 หลักประกันเรื่องการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
อนุสัญญาฯด้านสิทธิมนุษยชน NGO ระหว่างประเทศ ทำงานอยู่ ในประเทศไทย กลไกUPR,ผู้รายงานพิเศษของUN รัฐธรรมนูญฯ กม.ลูก และ นโยบายรัฐบาล แผนสิทธิฯในระดับต่างๆทั้งระดับชาติและจว. โครงสร้างองค์กร ทั้งภาครัฐและประชาสังคม บุคลากร ที่มีความรู้ ทัศนคติที่เหมาะสม องค์กรอิสระ, องค์กรตาม รธน. กระบวนการ/กลไกทำงานที่โปร่งใสตรวจสอบได้

12 องค์ประกอบของสิทธิมนุษยชน
-สิทธิในชีวิตและร่างกาย ,ห้ามทรมาน ลงโทษ โหดร้ายทารุณ, ห้ามการเป็นทาส,ความเป็นส่วนตัว -สิทธิในทรัพย์สิน สิทธิในกระบวนการยุติธรรม -การสื่อสารถึงกัน การเดินทาง/การเลือกถิ่นที่อยู่ - ความเสมอภาคทางกฎหมายและไม่ถูกเลือกปฏิบัติฯ กําหนดวิถีชีวิตทางเศรษฐกิจ - การมีงานทํา การเลือกงานอย่างเสรี - ค่าจ้าง สภาพการจ้างที่เป็นธรรม - การตั้งสหภาพ/นัดหยุดงาน - การเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติฯ สิทธิพลเมือง สิทธิมนุษยชน สิทธิทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ - เสรีภาพในการชุมนุม รวมกลุ่ม,กําหนดวิถีชีวิตทางการเมือง, การเลือกตั้ง,การตั้งพรรคการเมือง - การมีส่วนร่วมทางการเมืองและเข้าถึงบริการรัฐ - การแสวงหา รับ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารฯ สิทธิทางสังคม สิทธิทางวัฒนธรรม - กําหนดวิถีชีวิตทางสังคม,ได้รับการศึกษา บริการสาธารณสุข - การมีคู่ครองครอบครัว, ครอบครัวได้รับการคุ้มครองจากรัฐ ,คุ้มครองมารดาและบุตร - ประกันสังคม สุขภาพ สวัสดิการสังคมฯ - การพักผ่อน/วันหยุด/นันทนาการ - กําหนดวิถีชีวิตทางวัฒนธรรม - การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา - การปกป้องและปฏิบัติตามวัฒนธรรมฯ

13 ปัญหาการละเมิดสิทธิฯในรูปแบบต่างๆ เช่น ฆ่าล้างเผ่าพันธ์ฯ
การจัดกลุ่มสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน การจัดตั้งองค์กรสหประชาชาติ ค.ศ.๑๙๔๕/พ.ศ.๒๔๘๘ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.๑๙๔๘/พ.ศ.๒๔๙๑ พม. กติกาฯว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ.๑๙๖๖/พ.ศ.๒๕๐๙ กติกาฯว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม* ค.ศ.๑๙๖๖/พ.ศ.๒๕๐๙ ขจัดการเลือกปฏิบัติเชื้อชาติฯ* ค.ศ.๑๙๖๕/พ.ศ.๒๕๐๘ ต่อต้านการทรมาน ค.ศ.๑๙๘๔/พ.ศ.๒๕๒๗ คุ้มครองไม่ให้ถูกบังคับให้สูญหาย ค.ศ. ๒๐๐๖/พ.ศ.๒๕๔๙ พม. คุ้มครองเด็ก* ค.ศ.๑๙๘๙/พ.ศ.๒๕๓๒ คุ้มครองสตรี* ค.ศ..๑๙๗๙/พ.ศ.๒๕๒๒ คุ้มครองคนพิการ* ค.ศ.๒๐๐๖/พ.ศ.๒๕๔๙ คุ้มครองสิทธิแรงงานอพยพฯ ค.ศ.๑๙๙๐/พ.ศ.๒๕๓๓

14 สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน ๙ ฉบับ
วันที่ไทยเป็นภาคี วันที่มีผลบังคับใช้ หน่วยงานรับผิดชอบ อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Form of Discrimination against Women 1979: CEDAW) อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก(Convention on the Rights of the Child 1989 : CRC) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights 1966 : ICCPR กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights : ICESCR) อนุสัญญาฯว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination : ICERD) ๙ ส.ค. ๒๕๒๘ ๑๒ ก.พ.. ๒๕๓๕ ๒๙ ต.ค. ๒๕๓๙ ๕ ก.ย. ๒๕๔๒ ๒๘ ม.ค. ๒๕๔๖ ๘ ก.ย. ๒๕๒๘ ๒๖ เม.ย. ๒๕๓๕ ๓๐ ม.ค. ๒๕๔๐ ๕ ธ.ค. ๒๕๔๒ ๒๗ ก.พ. ๒๕๔๖ กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

15 สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน
วันที่ไทยเป็นภาคี วันที่มีผลบังคับใช้ หน่วยงานรับผิดชอบ อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรมหรือย่ำยีศักดิ์ศรี (Convention against Torture and Other Cruel ,Inhuman or Degrading Treatment or Punishment 1984 : CAT) อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ(Convention on the Rights of the Persons with Disabilities : CRPD) อนุสัญญาฯว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย (International Convention for the Protection of All Persons from Enforced Disappearance 2006 : ICPD) อนุสัญญาฯว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิของแรงงานอพยพและสมาชิกครอบครัว (International Convention on the Protection of the Rights of All Migrant Workers and Members of Their Families 1990 : ICRMW) ๒ ต.ค. ๒๕๕๐ ๒๙ ก.ค. ๒๕๕๑ ลงนามเมื่อ ๙ ม.ค. ๒๕๕๕ ๑ พ.ย. ๒๕๕๐ ๒๘ ส.ค. ๒๕๕๑ ประเทศไทยยังไม่ให้สัตยาบัน กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ

16 เหลียวหลัง แลหน้า งานสิทธิมนุษยชนของกระทรวงพ.ม.
วิสัยทัศน์ เป้าหมาย แผนสิทธิฯฉบับ ๓ เหลียวหลัง อนาคต ปัจจุบัน อดีต โอกาส ภัยคุกคาม สิทธิเสรีภาพ ตามกม.ของรัฐ สิทธิมนุษยชน ตามหลักสากล วิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้าง ระบบงาน บุคคลากรฯกระทรวงพ.ม. จุดแข็ง จุดอ่อน ความสำเร็จ -นโยบาย,ก.ม. -โครงสร้าง -ระบบงาน -เครือข่าย -คุณภาพชีวิตของปชก.ดีขึ้น ปัญหาที่คงอยู่ -การละเมิดสิทธิเด็ก สตรี คนพิการฯ -กลุ่มผู้ด้อยโอกาสยังไม่ได้รับบริการเสมอภาค เครือข่าย บทเรียน

17 ข้อเสนอแนะจากการนำเสนอรายงานประเทศตามกลไก UPR รอบที่ 2 และคำมั่นโดยสมัครใจที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงพ.ม. ปฏิบัติตามแผนงานและนโยบายที่ระบุไว้ในแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอย่างต่อเนื่อง จัดสรรทรัพยากรให้สามารถดำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนฯ พยายามในการลดการเลือกปฏิบัติและขจัดความรุนแรงต่อสตรีและเด็กอย่างมี ประสิทธิภาพ ขจัดปัญหาการใช้แรงงานเด็ก การกดขี่ และการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก การทำสื่อลามกอนาจารเด็ก รวมทั้งในการท่องเที่ยวทางเพศ เสริมสร้างขีดความสามารถของสถาบันการศึกษา โดยเฉพาะที่ดูแลคนพิการ สร้างนโยบายและมาตรการเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชน อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง เช่น สตรี เด็ก คนยากจน และผู้โยกย้ายถิ่น ฐาน

18 ทิศทางและเป้าหมายฯ ๑) ขอบเขต และระดับ
- ต่ำสุด เป็นไปตามกม.ภายในของประเทศไทย จากขอบเขตเฉพาะคนไทย - สูงขึ้น เป็นไปตามอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน แม้ไทยยังไม่มีพันธกรณีเต็มตัว (หลักสิทธิ มนุษยชนสากล) ขอบเขตเริ่มขยายไปครอบคลุมคนประเทศอื่นที่เข้ามาในประเทศไทย ๒) ทิศทาง และเป้าหมาย - จากสิทธิมนุษยชนตามก.ม.ไทย มุ่งไปสู่หลักการสิทธิมนุษยชนสากล - มีแผนแม่บทสิทธิมนุษยชนฯ เป็นกรอบทิศทาง ยึดเป้าหมายเป็นหลัก - ใช้โครงสร้าง ระบบ/กระบวนการทำงาน กลไก/เครื่องมือ องค์ความรู้ และเครือข่ายของพม. ๓) ความท้าทาย - แม้เป็นหน่วยงานราชการ ต้องดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล รัฐมนตรีฯ ต้องมีความเป็นมือ อาชีพ เป็นกลาง สากล - ความมั่นคงมนุษย์ กับความมั่นคงของชาติ ไปด้วยกันได้ (อาจสวนกระแสความคิดของ ประชาชน ฝ่ายการเมือง)

19 แนวคิด และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนขององค์กรต่างๆในประเทศไทย
แนวปฏิบัติในการคุ้มครองสิทธิฯขององค์กรต่างๆ NGO,องค์กรศาสนา องค์กรระหว่างประเทศ รัฐบาล หน่วยราชการ นักวิชาการ นักปกป้องสิทธิมนุษยชนฯ ความมั่นคงของมนุษย์ สิทธิเสรีภาพของปัจเจกชน สิทธิฯตามปฏิญญาสากลฯและอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนของUN ความมั่นคงของรัฐ ประโยชน์สาธารณะ แนวคิดในเรื่องสิทธิมนุษยชน

20 สรุปแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฯ
ที่มา แนวคิดเรื่องแผนสิทธิมนุษยชนฯ - การประชุมระดับโลกว่าด้วยสิทธิมนุษยชนที่จัดขึ้นในกรุงเวียนนา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๖ พัฒนาการของแผนสิทธิมนุษยชนฯ - แผนฯฉบับที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๔๔ - ๒๕๔๘) มีลักษณะเป็นกรอบนโยบายด้านสิทธิมนุษยชนใน ภาพรวมของประเทศที่ครอบคลุมประเด็นสิทธิมนุษยชน ใน ๑๑ ด้าน และ ๒๐ กลุ่มเป้าหมาย - แผนฯฉบับที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๔๒ - ๒๕๕๖) สังคมไทย“เป็นสังคมแห่งการเคารพศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์ตามหลักสิทธิมนุษยชน เครือข่ายสิทธิมนุษยชนเข้มแข็งในทุกภูมิภาคที่มีความ ตื่นตัวในเรื่องสิทธิมนุษยชนและพัฒนาสู่มาตรฐานสากล” - แผนฯฉบับที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๕๗ - ๒๕๖๑) สังคมไทยเป็น “เป็นสังคมที่ส่งเสริม สิทธิ เสรีภาพ และความเท่าเทียม โดยคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เพื่อนำไปสู่สังคมสันติสุข”

21 สาระสำคัญของสารจากนายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เนื่องในการประกาศใช้แผนสิทธิฯ ฉบับที่ ๓
“ผมขอให้หน่วยงานทุกภาคส่วนนำแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไปใช้ ส่งเสริม ปกป้อง และคุ้มครองสิทธิเสรีภาพให้แก่ประชาชน เพื่อช่วย ลดปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย ให้ประเทศไทยเป็น สังคมแห่งความสันติสุข และเป็นการยืนยันเจตนารมณ์ของรัฐบาล ในการปฏิบัติตามมาตรฐานสากลและพันธกรณีระหว่างประเทศด้าน สิทธิมนุษยชน”

22 มติครม.ให้ความเห็นชอบกับแผนแม่บทสิทธิมนุษยชนฯฉบับที่ ๓ และให้ทุกหน่วยงานดำเนินการดังนี้
๑. ต้องพิจารณามาตรการและแนวทางตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ว่าจะไม่ กระทําการใดๆที่เป็นการละเมิด หรือละเลยไม่ปฏิบัติ ซึ่งในแผนฯ กําหนดว่า อะไรที่ ควรทําทันที มีช่วงระยะเวลาในการปรับตัวให้เกิดการดําเนินงานตามแผนฯ ๒. ทุกสิ้นปีงบประมาณ ให้ทํารายงานเสนอคณะรัฐมนตรีโดยผ่านกระทรวงยุติธรรมว่า ที่ผ่านมามีการดําเนินงานตามแผนหรือไม่ ดําเนินการอย่างไร เพราะเหตุใด ๓. นําข้อกําหนดตามแผนสิทธิมนุษยชนฯไปพิจารณาก่อนเสนอแผนงานโครงการ งบประมาณของหน่วยงาน หากมีประเด็นที่สอดคล้องกับสิทธิมนุษยชนในเรื่องใดข้อ ไหน ที่ปรากฏในแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ให้นํามาอ้างอิงประกอบการพิจารณา ของคณะรัฐมนตรี

23 กลุ่มเป้าหมาย (๑๕ กลุ่ม) ตามแผนสิทธิมนุษยชน ฉบับที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๖๑)
๑. ผู้ต้องหา ผู้ต้องขัง (กระทรวงยธ.กรมคส., กรมรท.สตช. สภาทนายความ โครงการกำลังใจ สนับสนุนการดำเนินงานอยู่) ๒. ผู้พ้นโทษ (กรมคุมประพฤติ โครงการกำลังใจ อปท.NGO ดำเนินการอยู่) ๓. ผู้ต้องหาคดียาเสพติด (กระทรวงยธ.กรมคส. โครงการกำลังใจ ศาล สำนักงานดำเนินงานอยู่) ๔. เหยื่อ ผู้เสียหาย (กรมคส. ดูแลอยู่) ๕.ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ (สธ.สสส.NGO,PO) ๖. ผู้ใช้แรงงาน (รง.พม.สธ.สสส.NGO) ๗. คนจน (พม.รง.กษ. อปท.สสส/NGO ) ๘. เกษตรกร (กรมคส. กษ.พณ. สสส. ดูแลอยู่ โดยเฉพาะกลุ่มเกษตรพันธะสัญญา) ๙. ผู้สูงอายุ (พม.สธ.สสส.อปท.NGO) ๑๐. เด็กและเยาวชน (พม.ศธ.สสส.อปท.NGO) ๑๑. สตรี (พม.สสส.อปท.NGO) ๑๒.คนพิการ (พม.,สสส.อปท.NGO,) ๑๓.ผู้ไร้รัฐ กลุ่มชาติพันธ์ กลุ่มผู้แสวงหาที่พักพิงหรือผู้หนีภัยสู้รบ (พม.สธ.ศธ.สสส.NGOs) ๑๔. ผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความรุนแรง (พม.มท.) ๑๕. ความหลากหลายทางเพศ/อัตลักษณ์ทางเพศ (พม.กรมคส.กก.เอดส์ชาติ,สสส.ฯ)

24 แผนสิทธิมนุษยชน ฉบับที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๖๑) มี ๑๑ ด้าน
๑. ด้านสาธารณสุข ๒. ด้านการศึกษา ๓. ด้านเศรษฐกิจ ๔. ด้านด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๕.ด้านที่อยู่อาศัย ๖. ด้านวัฒนธรรมและศาสนา ๗. ด้านข้อมูล ข่าวสาร ๘. ด้านการขนส่ง ๙. ด้านการเมือง การปกครองสูงอายุ ๑๐. ด้านกระบวนการยุติธรรม ๑๑. ด้านความมั่นคงทางสังคม

25 การขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนฯ ฉบับ ๓ ไปสู่การปฏิบัติ
๑) มีการส่งเสริมการขับเคลื่อนให้หน่วยงานต่างๆ นำแผนฯฉบับ ๓ไปสู่การปฏิบัติ โดย - แจ้งให้หน่วยงานทราบในทุกระดับ - ประสานมท.ให้สั่งการให้จังหวัดและอปท. นำแผนสิทธิฯฉบับที่ ๓ ไปจัดทำแผนปฏิบัติในระดับจว.และ อปท.ตามมติครม. ๑๗ พย.๒๕๕๗ - จัดทำคู่มือและเอกสารต่างๆเผยแพร่ - เผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ ๒) สร้างความรู้ความเข้าใจ - จัดประชุมประกาศใช้แผนฯ - สร้างวิทยากรตัวคูณ - จัดฝึกอบรม“ระดับนโยบายเพื่อป้องกัน จัดการและแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนด้วยแผนสิทธิ มนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ - จัดฝึกอบรมหลักสูตร “การขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในระดับจังหวัด”ในพื้นที่ ๙ ภาค - ผลักดันระดับนโยบาย

26 คำถามและข้อคิดเห็นจากที่ประชุม
คำถาม : ข้อคิดเห็น :

27 ขอขอบคุณ ที่สนใจรับฟัง แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น และในความตั้งใจในการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ บุญกุศลนี้จะคืนสู่ท่านและครอบครัวต่อไป


ดาวน์โหลด ppt สไลด์การอภิปรายทิศทางฯงานสิทธิฯของพม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google