Advance Excel.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บริษัท กุ้งหลวงไคโตซาน จำกัด
Advertisements

สะสมทรัพย์ 15 ปี ชำระเบี้ย ประกันภัย 7 ปี (มีเงินปันผล)
สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
สูตรคำนวณราคาตราสารหนี้ประเภทจ่ายดอกเบี้ยลอยตัว (Floating Rate Note)
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ตัวอย่างการตีราคาสินค้าคงเหลือ
โดย ทีมผู้ดูแลระบบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11/03/2551
มูลค่าของเงินตามเวลา
การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญ
การประเมินราคาตราสารหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
การตรวจสอบการนำส่งเงินรายได้
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
เราควรมีเงินเก็บเท่าไรก่อนที่คิดจะลงทุน
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
อ.สมาภรณ์ เย็นดีภาควิชาคอมพิวเตอร์อาคาร 18 ชั้น 2 Tel
กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร. กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร.
การจัดประชุมชี้แจง รายงานการลงทุนในหลักทรัพย์ในต่างประเทศ
การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 4 งบการเงิน.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
งบลงทุน Capital Budgeting
ร้านซ่อม ประกอบคอมพิวเตอร์ (ในและนอกสถานที่)
น.ส.เสาวลักษณ์ วิจิตรโสภา
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
Financial Management.
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (2)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน(1)
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการให้กู้ยืมเงินกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย.
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา ( TIME VALUE OF MONEY )
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
หน่วยที่ 2 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป
การบัญชีเกี่ยวกับตั๋วขาดความเชื่อถือ
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
บทที่ 4 การดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
Option Risk Managemetn
อ สิทธิชัย เอี่ยววุฑฒะจินดา
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
มีการดำเนินงานหลัก ๆ อยู่ 2 ประการ คือ
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
1.
ทุนมรดก คุณลูกค้ารัก และห่วงกังวลใครมากที่สุด ในชีวิตค่ะ ? คุณลูกค้ารัก และห่วงกังวลใครมากที่สุด ในชีวิตค่ะ ? ถ้าจะให้หมดห่วง หมดกังวล คุณลูกค้า คิดว่าต้องเตรียมเงินเป็นมรดกไว้ให้ลูก.
วิชาการบัญชีตั๋วเงิน ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับตั๋วเงิน
1. ธุรกิจบริการ สหกรณ์เป็นตัวกลางในการเก็บค่า กระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการส่งน้ำเพื่อ การเกษตรของโครงการสูบน้ำและ บำรุงรักษาสุโขทัย ( ชลประทาน ) ธุรกิจนี้สหกรณ์จะมีรายได้จากการ.
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
การรวมธุรกิจ.
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Advance Excel

- PMT คำนวณหาจำนวนเงินที่ต้องจ่ายในแต่ละงวดเวลา (Payment) ฟังก์ชันทางการเงิน ฟังก์ชันที่เกี่ยวกับการเงิน มักจะเป็นการคำนวณหาค่าของเงินปัจจุบัน (PV) –อนาคต(FV) อัตราดอกเบี้ย และจำนวนเงินที่ต้องจ่ายรายเดือน เช่น - PMT คำนวณหาจำนวนเงินที่ต้องจ่ายในแต่ละงวดเวลา (Payment)

=PMT (Rate, Nper, Pv, Fv, Type)

Example 07.xls นายวีรภาพ ต้องการซื้อรถยนต์ราคา 474,500 บาท สามารถผ่อนชำระได้ทุกต้นเดือน เดือนละ 3,000 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 12 ต่อปี เป็นเวลา 5 ปี อยากทราบว่านายวีรภาพจะซื้อรถยนต์ได้หรือไม่ - rate อัตราดอกเบี้ย 12% ต่อปี ดังนั้น rate ต่อเดือนคือ 12/12 = 1% - nper งวดเวลา 5 ปี (1 ปีเท่ากับ 12 เดือน) งวดเวลาคือ 5*12=60 เดือน - pv มูลค่าเงินปัจจุบันหรือเงินต้นคือ 474,500 บาท - fv มูลค่าของเงินในอนาคต (จ่ายจนหมด ค่า fv จะเป็น 0) - type มีค่าเป็น 1 (จ่ายทุกต้นเดือน)

FV (rate, nper, pmt, pv, type) ฟังก์ชัน FV ย่อมาจาก Future Value เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการคำนวณหามูลค่าของเงินในอนาคต รูปแบบ FV (rate, nper, pmt, pv, type) - rate อัตราดอกเบี้ยต่อปี - nper งวดเวลา (ปี) - pmt จำนวนเงินที่จ่ายเป็นรายงวด - pv ค่าเงินของการลงทุน - type มีค่าเป็น 0 (จ่ายทุกสิ้นปี) หรือ 1 (จ่ายทุกต้นปี)

Example 08.xls นายสะสมทรัพย์วางแผนฝากเงินจำนวน 10,000 บาท เป็นก้อนแรก จากนั้นฝากทุกสิ้นปี จำนวน 5,000 บาท เป็นเวลา 10 ปีโดยในระหว่างนี้ไม่มีการถอนคืนทั้งเงินต้นและดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย 8% ต่อปี อยากทราบว่าอีก 10 ปีข้างหน้าจะได้รับเงินทั้งหมดเป็นจำนวนเงินเท่าใด - rate อัตราดอกเบี้ย 8% ต่อปี - nper จำนวนปีที่ฝาก 10 ปี - pmt เงินที่ฝากเป็นรายงวด -5,000 บาท (เนื่องจากต้องจ่ายออกไป) - pv เงินทุนก้อนแรก -10,000 บาท - type มีค่าเป็น 0 (จ่ายทุกสิ้นปี)

Work 1. นายทวีทรัพย์เปิดบัญชีเงินฝากครั้งแรก 5,000 บาท จากนั้นฝากทุกต้นปี จำนวน 8,000 บาท เป็นเวลา 20 ปี โดยในระหว่างนี้ไม่มีการถอนคืนทั้งเงินต้นและดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย 12% ต่อปี อยากทราบว่าอีก 20 ปีข้างหน้าจะได้รับเงินทั้งหมดเป็นจำนวนเงินเท่าใด 2. นายเพิ่มพูนมีเงินเปิดบัญชีเงินฝากจำนวน 20,000 บาท จากนั้นไม่มีการฝากเงินอีกเป็นเวลา 5 ปี ธนาคารให้อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี อยากทราบว่าอีก 5 ปีข้างหน้าจะได้รับเงินทั้งหมดเป็นจำนวนเงินเท่าใด