การประยุกต์ใช้องค์ประกอบของต้นทุนการผลิตเพื่อการบริหารอย่างมืออาชีพ ผศ.อารมณ์ ริ้วอินทร์
ต้นทุน
ผลรวมของค่าใช้จ่าย เพื่อวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่ง
Cost is a sacrifices of resources
ประเภทของต้นทุน
เกณฑ์ในการจำแนกประเภทต้นทุน จำแนกตามองค์ประกอบ จำแนกตามพฤติกรรม จำแนกตามการดำเนินงาน จำแนกตามความรับผิดชอบ
ต้นทุนจำแนกตามองค์ประกอบ ต้นทุนในการผลิต(Manufacturing costs) ต้นทุนนอกการผลิต (Non-manufacturing costs)
องค์ประกอบต้นทุน ต้นทุนในการผลิต(Manufacturing Cost) ต้นทุนทางการตลาด (Marketing costs) ต้นทุนในการบริหาร(Administrative costs)
องค์ประกอบต้นทุน ต้นทุนในการผลิต(Manufacturing Cost) ต้นทุนแท้ วัตถุ วัตถุทางตรง วัตถุทางอ้อม แรงงาน แรงานทางตรง แรงงานทางอ้อม ค่าใช้จ่ายในการผลิต ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ต้นทุนแท้ ต้นทุนแปรสภาพ
ต้นทุนนอกการผลิต (Non-manufacturing Cost)
ต้นทุนทางการตลาด(marketing costs) ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าโฆษณา ค่านายหน้า ต้นทุนในการบริหาร(administrative costs) เงินเดือนสำนักงาน ค่าเสื่อมราคาสำนักงาน วัสดุสำนักงาน
พฤติกรรมต้นทุน ต้นทุนผันแปร(Variable costs) ต้นทุนคงที่(Fixed costs) ต้นทุนผสม(Mixed costs) (ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่)
ต้นทุนผันแปร(Variable Cost) วัตถุทางตรง : DM แรงงานทางตรง : DL ค่าใช้จ่ายในการผลิตผันแปร : MO-V ต้นทุนคงที่(Fixed Cost) ค่าใช้จ่ายในการผลิตคงที่ : MO-F
ต้นทุนจำแนกตามการดำเนินงาน ต้นทุนทางตรง(Direct costs) ต้นทุนทางอ้อม (Indirect costs)
จำแนกต้นทุนตามความรับผิดชอบ ต้นทุนที่ควบคุมได้ (Controllable costs) ต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้ (Uncontrollable costs)
การนำต้นทุนผลิตไปใช้ในการบริหาร ต้นทุนผันแปร(Variable costs) ต้นทุนคงที่(Fixed costs)
การแยกต้นทุนผสม(Mixed costs) HIGH - LOW METHOD LINEAR PROGRAMMING METHOD
HIGH – LOW METHOD ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย = ผลต่างต้นทุนรวม / ผลต่างระดับกิจกรรม AVC = ΔTC / ΔQ ต้นทุนคงที่ = ต้นทุนรวม – ต้นทุนผันแปร TFC = TC - TVC
ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น เดือน จำนวนครั้งในการใช้ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น เดือนมกราคม 100 ครั้ง 400 บาท เดือนเมษายน 120 ครั้ง 460 บาท
คำนวณการแยกต้นทุนผสม AVC = ΔTC / ΔQ = (460-400) / (100 – 120 ) = 60 / 20 = 3 TFC = TC - TVC = 460 – ( 120 x 3 ) = 100
ข้อบกพร่องของวิธี HI-LO ใช้ตัวอย่างเพียง 2 จุดมาอธิบายทั้งหมด
ข้อจำกัดในการใช้ ข้อมูลต้องเป็นปกติ ไม่มี BIAS ความสัมพันธ์ต้องเป็นโปรแกรมเส้นตรง ต้นทุนผันแปรเฉลี่ยต่อหน่วยคงที่
LINEAR PROGRAMMING Y = a + bX ΣY = Na + bΣX ΣXY = aΣX + bΣX
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
การจัดทำงบกำไรขาดทุนแบบต้นทุนผันแปร
การปันส่วนค่าใช้จ่ายในการผลิต Manufacturing overhead cost ขั้นที่ 1 ปันส่วนค่าใช้จ่ายในการผลิตตามเกณฑ์ ขั้นที่ 2 ปันส่วนต้นทุนทางอ้อม ขั้นที่ 3 โอนต้นทุนทางอ้อมเข้าต้นทุนผลิตสินค้า
ขั้นที่ 1 ปันส่วนค่าใช้จ่ายในการผลิตตามเกณฑ์ กำหนดเกณฑ์ที่จะปันส่วนค่าใช้จ่ายในการผลิต ปันส่วนปันส่วนค่าใช้จ่ายในการผลิตตามเกณฑ์ รวมต้นทุนทางอ้อมแต่ละแผนก
ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด คิดจำนวนเท่าๆกันทุกแผนก กำหนดเกณฑ์ที่จะปันส่วนค่าใช้จ่ายในการผลิต ค่ารักษาความปลอดภัย จำนวนครั้งที่ไปตรวจเยี่ยม ค่าภาษีทรัพย์สิน ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์แต่ละชนิด ภาษีค่าแรง ค่าแรงงานของแต่ละแผนก ค่าเช่าโรงงาน พื้นที่ใช้งานของแต่ละแผนก ค่าสาธารณูปโภค คิดตามสถิติในอดีต ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด คิดจำนวนเท่าๆกันทุกแผนก
12 150 16 200 40 500 แผนกประกอบ แผนกหล่อแบบ แผนกคลังสินค้า ค่ารักษาความปลอดภัย ปันส่วนตามจำนวนครั้งที่ไปตรวจเยี่ยม จำนวนครั้งที่ตรวจตรา ค่ารักษาความปลอดภัย แผนกประกอบ 12 150 แผนกหล่อแบบ แผนกคลังสินค้า 16 200 แผนกซ่อมบำรุง รวม 40 500
ค่าภาษีทรัพย์สิน ปันส่วนตามราคาตามบัญชีของสินทรัพย์แต่ละชนิด ราคาตามบัญชีทรัพย์สิน ค่าภาษีทรัพย์สิน แผนกประกอบ 100,000 600 แผนกหล่อแบบ 70,000 420 แผนกคลังสินค้า 26,000 150 แผนกซ่อมบำรุง 4,000 24 รวม 200,000 1,200
ภาษีค่าแรง ปันส่วนตามค่าแรงงานของแต่ละแผนก ค่าแรงงานในแผนก ภาษีค่าแรง แผนกประกอบ 295,000 1,845 แผนกหล่อแบบ 40,000 2,500 แผนกคลังสินค้า 2,400 150 แผนกซ่อมบำรุง 8,100 505 รวม 80,000 5,000
พื้นที่ใช้งานของแผนก ค่าเช่าโรงงาน ปันส่วนตามพื้นที่ใช้งานของแต่ละแผนก พื้นที่ใช้งานของแผนก ค่าเช่าโรงงาน แผนกประกอบ 15000 270 แผนกหล่อแบบ แผนกคลังสินค้า 6000 108 แผนกซ่อมบำรุง 4000 72 รวม 40000 720
50 300 45 270 3 18 2 12 100 600 ค่าสาธารณูปโภค ปันส่วนตามสถิติในอดีต %ใช้งานในอดีต ค่าสาธารณูปโภค แผนกประกอบ 50 300 แผนกหล่อแบบ 45 270 แผนกคลังสินค้า 3 18 แผนกซ่อมบำรุง 2 12 รวม 100 600
ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด ปันส่วนเท่าๆกันทุกแผนก เท่ากันทุกแผนก ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด แผนกประกอบ 0.25 150 แผนกหล่อแบบ แผนกคลังสินค้า แผนกซ่อมบำรุง รวม 1.00 600
ขั้นที่ 2 ปันส่วนต้นทุนทางอ้อม วิธีที่ 1 ทางตรง(direct method) วิธีที่ 2 ตามลำดับ(sequential method) วิธีที่ 3 สลับ(reciprocal method)
วิธีที่ 1 ทางตรง(direct method) แผนกบริการให้บริการแก่แผนกผลิตเท่านั้น S1 → P1, P2 S2 → P1 ,P2
วิธีที่ 2 ตามลำดับ(sequential method) แผนกบริการ ให้บริการแก่แผนกบริการ ตามลำดับ S1 → S2 , P1, P2 จากนั้น S2 → P1, P2
วิธีที่ 3 สลับ(reciprocal method) แผนกบริการ ให้บริการแก่แผนกบริการ สลับกัน S1 → S2 S2 → S1 จากนั้น S1 → P1,P2 S2 → P1,P2
การคำนวณต้นทุนและกำหนดราคาขาย ราคาตามมหาวิทยาลัย ราคาตามสถานที่ราชการ
จบแล้วค่ะ