การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน โดย ผศ.ทรงสิริ วิชิรานนท์ มทร.พระนคร
ประเด็นยุทธศาสตร์ ศูนย์กลางการศึกษาและความรู้ (Hub) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความเข้มแข็ง 2. สร้างคนดี คนเก่งในงานพัฒนาให้เป็นทุนมนุษย์ (Human Capital) ของประเทศ 3. ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดจนถ่ายทอดความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงบูรณาการที่ได้มาตรฐานเพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของคนไทย
ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างโอกาสทางการศึกษาให้ ประชาชนได้รับการ พัฒนาความรู้ไปสู่การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ตัวอย่าง กลวิธี/มาตรการ พัฒนาหลักสูตรและระบบการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเรียนการสอน 2. พัฒนารูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
การประเมินตนเอง ตามเกณฑ์ สกอ. ตัวชี้วัดที่ 2.8 ขององค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอนมีระบบและกลไก สนับสนุนให้อาจารย์ประจำทำการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ผลการประเมิน ปีการศึกษา คะแนนประเมิน SAR กรรมการ 2552 3 2551 2550
การสนับสนุนของมหาวิทยาลัย 1. นโยบายมหาวิทยาลัย ในภาคเรียนที่ 2/2553 มหาวิทยาลัยมีนโยบายให้อาจารย์ทุกคนทำวิจัยในชั้นเรียนโดยมีจุดมุ่งหมายที่สำคัญคือ การพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และได้จัดให้มีการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง การวิจัยในชั้นเรียน แก่ คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2553
การสนับสนุนของมหาวิทยาลัย (ต่อ) การสนับสนุนของมหาวิทยาลัย (ต่อ) 2. งบประมาณวิจัย งบประมาณประจำปี (ผลผลิต : สร้างองค์ความรู้) งบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย (วิจัยสถาบัน) งบประมาณรายได้คณะ
การสนับสนุนของมหาวิทยาลัย (ต่อ) การสนับสนุนของมหาวิทยาลัย (ต่อ) 3. โครงการอบรม/สัมมนา เกี่ยวกับการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ตัวอย่างโครงการ 1. โครงการวิจัยสัญจร 2. โครงการต้นกล้านักวิจัย 3. โครงการนักวิจัยมืออาชีพ 4. โครงการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญจัดโดย สำนักส่งเสริมวิชาการและ ทะเบียน
การสนับสนุนของมหาวิทยาลัย (ต่อ) การสนับสนุนของมหาวิทยาลัย (ต่อ) 5. โครงการติดตามและประเมินผลผู้สำเร็จ การศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา จัดโดย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ 6. โครงการ การวิจัยในชั้นเรียนสำหรับผู้สอนใน จัดโดย คณะบริหารธุรกิจ
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ