การเลือกคุณภาพสินค้า พิจารณาองค์ประกอบของสินค้า เช่น ผู้บริโภคน้ำสลัดดูน้ำตาลและไขมันในสัดส่วนที่ต้องการ ผู้บริโภคจะใช้รายได้เลือกซื้อองค์ประกอบของสินค้าและปริมาณที่ต้องการจนได้ความพอใจสูงสุด
ตัวอย่างการตัดสินใจของผู้บริโภค I = 100 บาทสำหรับบริโภคน้ำสลัดที่มีให้เลือกอยู่ 4 ยี่ห้อในราคาที่แตกต่างกัน ให้คุณภาพของน้ำสลัดขึ้นอยู่กับส่วนผสมของน้ำตาลและไขมัน ซึ่งวัดได้จากกรัมของไขมันและกรัมของน้ำตาลต่อหน่วยของน้ำสลัด ผู้บริโภคจะใช้เงิน 100 บาทในการเลือกซื้อน้ำตาลและไขมันในสัดส่วนที่ต้องการ ใช้ตัวแบบ IC พิจารณาได้ว่า เขาซื้อน้ำสลัดยี่ห้ออะไรบ้าง และในปริมาณเท่าใด
องค์ประกอบของน้ำสลัด: ไขมันและน้ำตาล ยี่ห้อ ไขมัน น้ำตาล ไขมัน/น้ำตาล ราคา จำนวน กรัม/หน่วย บาท/หน่วย หน่วย อีวา 90 20 4.5 20 5 อีวอน 87 30 2.9 25 4 ดาเลีย 65 37 1.75 27 3.7 ดาลอง 30 40 0.75 26 3.84 ไขมันและน้ำตาลของน้ำสลัดที่ซื้อได้จากเงิน 100 บาท ยี่ห้อ ไขมัน น้ำตาล อัตราการทดแทนส่วนเพิ่ม อีวา 450 100 อีวอน 348 120 5.1 ดาเลีย 240.5 136.9 6.36 ดาลอง 115.2 153.6 7.50
การตัดสินใจของผู้บริโภค กรณี 1 เลือกจุด A และใช้เงินทั้งหมดซื้ออีวา 5 หน่วย
การตัดสินใจของผู้บริโภค กรณี 2 จุดT ไม่ตรงกับน้ำสลัดยี่ห้อใดที่มีขายในตลาด
การผสมน้ำสลัด ผสมอีวาและอีวอนจนได้ส่วนผสมที่จุด T ทำไม่ไม่ผสมอีวากับดาเลียหรือดาลอง?
เมื่อมีการบริโภคสินค้ามากกว่า 1 ประเภท บริโภคน้ำสลัดและพายเนื้อ จัดสรรรายได้ให้แต่ละสินค้า เลือกองค์ประกอบสินค้าแต่ละประเภทเมื่อได้รับการจัดสรรรายได้
การจัดสรรรายได้
ลักษณะของตัวแบบเศรษฐศาสตร์ ไม่มีการสัมภาษณ์ ตัวแบบเศรษฐศาสตร์ไม่มีการสัมภาษณ์ผู้บริโภค เช่น ตัวแบบอุปสงค์ต่อเบียร์ เมื่อใช้ในการคาดคะเนหรือการวิเคราะห์นโยบาย สมมติให้เหตุการณ์ในอดีตยังเกิดขึ้นในลักษณะเดิม เช่น ความยืดหยุ่นราคาสินค้าเหมือนเดิม
การสัมภาษณ์ ปัจจัยที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการสัมภาษณ์ ความไม่พร้อมของผู้บริโภค ไม่คุ้นกับสินค้า ปัจจัยที่เอื้ออำนวยต่อการสัมภาษณ์ ความพร้อมของผู้บริโภค คุ้นเคยกับสินค้าที่กำลังบริโภค มีการวางแผนที่จะซื้อ เช่น บ้าน รถยนต์
การผสมผสานการสัมภาษณ์กับตัวแบบเศรษฐศาสตร์ ตัวแบบอุปสงค์ต่อเบียร์/การสัมภาษณ์ผู้บริโภค ช่วยเสริมข้อสรุป เช่น ผู้บริโภคให้สัมภาษณ์ว่า การเปลี่ยนแปลงในราคาเบียร์ไม่มีผลต่อปริมาณการบริโภคเบียร์ ตัวแบบอุปสงค์สรุปได้ว่า ความยืดหยุ่นราคาเบียร์ต่ำ
การทดลองตลาด เลือกกลุ่มผู้บริโภคที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย จำลองสถานการณ์การซื้อขายสินค้า กำหนดอำนาจซื้อผู้บริโภค แจกคูปองเพื่อจำลองรายได้ กำหนดราคาสินค้า จำนวนคูปองที่ต้องใช้ สังเกตพฤติกรรมการซื้อ สามารถคำนวณความยืดหยุ่นราคา ความยืดหยุ่นรายได้ ความยืดหยุ่นราคาไขว้ ข้อสมมติที่สำคัญคือแหล่งของรายได้ไม่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อ end lecture 8 here