เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักทั่วไปของเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาค ในเรื่องปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ปัจจัยกำหนดอุปสงค์และอุปทานของสินค้าพฤติกรรมผู้บริโภค ลักษณะสำคัญของตลาดสินค้าที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน
รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม  แรงงานเข้าสู่ตลาดด้วยระดับการศึกษาและ ทักษะต่างกัน  หลังจากทำงาน ยังได้ฝึกอบรมเพิ่ม (on-the- job training)
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
ระบบเศรษฐกิจ.
วิชา การจัดการข้อมูล (Data Management) 3(2-2-5) บทที่ 3
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ตลาดและการแข่งขัน.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
แนะนำหนังสือวิชาการ ที่น่าอ่าน ***********
ปัจจัยสนับสนุน ความสามารถในการแข่งขัน
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
การวางแผนการผลิต และการบริการ
นางสาววิไลวรรณ แซ่เตีย รองประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ตลาด ( MARKET ).
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วัตถุประสงค์ของวิชา ศึกษากลไกของตลาดแรงงาน พฤติกรรมของนายจ้างและลูกจ้าง สนองตอบต่อแรงจูงใจต่างๆ วิเคราะห์บทบาทของสถาบันสำคัญที่มีอิทธิพลเข้าแทรกแซงตลาด ภาครัฐ และ สหภาพแรงงาน วิเคราะห์นโยบายและมาตรการ เพื่อสวัสดิการของทุกฝ่ายในตลาดแรงงาน

การวัดผล รายงานการศึกษาค้นคว้าประเด็นสำคัญต่าง ๆ เกี่ยวกับแรงงาน กลุ่มละไม่เกิน ๕ คน ๑๕ % สอบกลางภาค วันอังคารที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕ % สอบปลายภาค วันศุกร์ที่ ๒ ตุลาคม (เช้า) ๕๐ % การเข้าเรียน และการมีส่วนร่วมในห้องเรียน ๑๐ %

หนังสือหลักที่ใช้อ่านประกอบ George J. Borjas, Labor Economics, McGraw-Hill Companies, Inc. Fourth Edition, McGraw-Hill International Edition, 2008 McConnell, Campbell R., Stanley L. Brue and David A. Macpherson, Contemporary Labor Economics, Sixth Edition, McGraw-Hill Irwin, 2002 เศรษฐศาสตร์แรงงานร่วมสมัย แปลและเรียบเรียง จาก McConnell, Brue and Macpherson โดย พรรณี จรัมพร บริษัทสำนักพิมพ์ท้อป จำกัด ๒๕๔๘

ทฤษฎีอุปทาน (การเสนอขาย) แรงงาน หลักเกณฑ์การตัดสินใจของแต่ละบุคคลที่จะมีส่วนร่วมในตลาดแรงงาน แบบจำลองการเลือกระหว่าง งานในตลาด งานบ้าน และการพักผ่อน อุปทานแรงงานรวม การลงทุนในทุนมนุษย์ การศึกษา และการฝึกอบรมระหว่างงาน ผลของนโยบายรัฐบาล ต่ออุปทานแรงงานส่วนบุคคล ต่อการลงทุนในทุนมนุษย์

ทฤษฎีอุปสงค์ (ความต้องการ) แรงงาน ความต้องการแรงงานของหน่วยผลิต ในระยะสั้น และระยะยาว ความต้องการของตลาดโดยรวม ปัจจัยกำหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์แรงงาน

ดุลยภาพในตลาดแรงงาน การกำหนดอัตราค่าจ้าง และ ปริมาณการจ้างงานในตลาดแรงงานแบบต่าง ๆ ตลาดแรงงานแบบแข่งขันสมบูรณ์ การผูกขาดในตลาดผลผลิต การผูกขาดด้านผู้ซื้อแรงงาน ทางเลือกต่างๆในการจ่ายค่าตอบแทนและประสิทธิภาพแรงงาน ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยผลิตและคนงาน ความสัมพันธ์ระหว่างวิธีการจ่ายค่าตอบแทนและประสิทธิภาพแรงงาน โครงสร้างค่าจ้าง ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ คนงานและงานมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ การใช้ค่าจ้างชดเชยความแตกต่างระหว่างงาน หรือ ระหว่างคนงาน

บทบาทของสถาบันหลักในตลาดแรงงาน สหภาพแรงงาน แบบจำลองว่าด้วยพฤติกรรมของสหภาพแรงงาน ผลกระทบของสหภาพแรงงานต่อค่าจ้างและการจ้างงาน รัฐ ในฐานะผู้จ้างงาน ในฐานะผู้กำกับดูแล และ คุ้มครองแรงงาน

การเลือกปฏิบัติในตลาดแรงงาน ทฤษฎีสำคัญทางเศรษฐศาสตร์ที่อธิบายการเลือกปฏิบัติ รสนิยม ข้อมูลไม่สมบูรณ์ การกระจุกตัวของอาชีพ นโยบายและมาตรการ ป้องกันและแก้ไขการเลือกปฏิบัติ

ความคิดเห็น/ความสามารถในการประยุกต์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มาอธิบายตลาดแรงงาน ประเทศไทยควรกีดกันคนงานจากต่างชาติ เช่น พม่า กัมพูชา หรือไม่ เพราะเหตุใด คนงานหญิงและชายควรได้รับค่าจ้างเท่ากันหรือไม่ ถ้างานที่ทำนั้นมีลักษณะเหมือนกัน