ศ.401 เศรษฐศาสตร์การเมือง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
สภาพเศรษฐกิจ และสังคม ยุคสมัยกลาง
การประกาศ พระราชกฤษฎีกา แห่งมิลาน พ.ศ 856 โดย ครูขณิฐภรณ์ พรหมปลูก
กระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
BA2301 หลักการตลาด การค้าปลีกและการค้าส่ง
การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
สิ่งท้าทายพระสงฆ์ในบริบทสังคมปัจจุบัน
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
Business Economics for a Better World ถอดความโดย คุณประจวบ ตรีนิกร
รอบรู้อาเซียน.
การศึกษาต่อในประเทศจีน
Strategic Management ผศ.กันธิชา ทองพูล.
การปฏิวัติอุตสาหกรรม Industrial Revolution
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
เหตุการณ์สำคัญในภูมิภาคต่าง ๆของโลก ที่มีผลต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก การสำรวจทางทะเล แต่เดิมการติดต่อค้าขายของคนในต่างทวีปทำได้ยาก.
เศรษฐกิจและสังคมการผลิตพืช ผู้สอน: รศ. วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร
หลักการของทุนนิยม กำไร สูงสุด ราคาขายแพงสุด ต้นทุนต่ำสุด - ผูกขาดกีดกัน คู่แข่ง - ค่าแรงต่ำสุด - ภาษีต่ำสุด - ค่าเช่า ต่ำสุด.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
การเผยแพร่องค์ความรู้เรื่อง “รู้ทันนวัตกรรมคอร์รัปชัน”””
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Law and Modern World ภาคการศึกษา 2/2556.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
กระบวนการการทำงานชุมชน
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
การปฏิวัติฝรั่งเศส.
จำนวนคณะกรรมาธิการที่ส่งประเด็น ณ วันที่ 10 ธันวาคม 2557 เวลา น. คณะกรรมาธิการปฏิรูปจำนวน - การเมือง20 - การบริหารราชการแผ่นดิน11 - กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม12.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
ธุรกิจประมงและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง
องค์ประกอบสังคมอยุธยา
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ชนชั้นนำทางการเมืองไทย
รัฐเดี่ยวรัฐรวมแตกต่างกันอย่างไร
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่ คาดหวัง อธิบายกิจกรรมการผลิต ของมนุษย์ขั้นทุติยภูมิได้ 2.
การจัดระเบียบทางสังคม ในสังคมอยุธยา
ครูจงกล กลาง ชล 1. 2 รู้และเข้าใจ เกี่ยวกับกิจกรรม การผลิตที่ เกี่ยวข้องกับการ แลกเปลี่ยนหรือ ซื้อขาย.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ครูจงกล กลางชล 1. 2 สรุปแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการ ด้านการเมือง – การปกครองโดยใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศ.401 เศรษฐศาสตร์การเมือง การกำเนิดระบบทุนนิยม

สังคมศักดินายุโรป เจ้าที่ดิน ไพร่ กฎเกณฑ์และ ประเพณีปกครอง ภาษี ส่วยและแรงงาน

ชุมชน manor ชุมชนเกษตรและช่างฝีมือ ปกครองโดย “เจ้านาย” ไพร่ส่งส่วยและแรงงานแก่เจ้านาย มีการค้าเฉพาะ “ส่วนเกิน” ที่เหลือจากการบริโภค การแบ่งชนชั้นและหน้าที่ที่เข้มงวด ปกครองด้วยระบบประเพณี ธรรมเนียม พันธะบุคคลระหว่างไพร่กับ “เจ้านาย”

ศาสนจักรคาทอลิก เจ้าที่ดินรายใหญ่ที่สุด ปกครองไพร่และช่างฝีมือ ภักดีต่อองค์พระสันตประปา ณ กรุงโรม อำนาจอิทธิพลเหนือกษัตริย์ยุโรป พลังอำนาจทางจิตวิญญาณต่อประชาชน

เมือง ช่างฝีมือ “อิสระ” รวมตัวเป็นสมาคมช่างฝีมือ (guilds) ผูกขาดการผลิตของใช้ “นายช่าง” (master) และ “ช่างฝึกหัด” (apprentice) ควบคุมการผลิต การขาย และราคา เป็นฐานอิทธิพลของชนชั้นพ่อค้า ค้าขายกับชุมชน manors และดินแดนห่างไกล

การเสื่อมสลายของระบบศักดินา การเพิ่มผลิตภาพในภาคเกษตร การเพาะปลูกระบบสองส่วนเป็นระบบสามส่วน การใช้ม้าแทนวัว เกวียนสี่ล้อแทนเกวียนสองล้อ และการลดลงของต้นทุนขนส่ง การเพิ่มอุปทานอาหารและการเพิ่มประชากร

เมืองมีขนาดใหญ่ ประชากรหนาแน่นขึ้น มีการแบ่งงานกันทำมากขึ้น การเพิ่มผลิตภาพในภาคหัตถกรรม การเฟื่องฟูของการค้าทางไกล (ศ.11) สงครามครูเสดเปิดเส้นทางการค้าใหม่ การค้ากับโลกอาหรับและตะวันออกไกล การเติบโตของเมืองใหญ่ที่แยกจากเกษตรกรรมอย่างชัดเจน (ศ.11-15)

การเกิดของการผลิตทุนนิยม ระบบ putting-out (ศ.16) การเสื่อมลงของสมาคมช่างฝีมือ ช่างฝีมือกลายเป็นลูกจ้าง (คนงาน) พ่อค้ากลายเป็นนายจ้าง (นายทุน) การตัดสินใจการผลิตกระทำโดยนายทุน ไม่ใช่โดยคนงาน การเฟื่องฟูของอุตสาหกรรมสิ่งทอ

การสลายตัวของชุมชน manors ผลิตภัณฑ์ เมือง ผลผลิต เจ้าที่ดิน เกษตรกรผู้เช่า ค่าเช่าเป็นเงิน

การทำลายล้างชุมชน manors (ศ.14-15) ความสัมพันธ์เชิงเงินตรา (สัญญาเช่าที่ดิน) แทนที่ความสัมพันธ์เชิงประเพณีศักดินา การทำลายล้างชุมชน manors (ศ.14-15) สงครามระหว่างเจ้าตระกูลต่าง ๆ กบฏ จลาจล โดยไพร่ เกษตรกร โรคระบาด ความอดอยาก การเกิดเกษตรกรรมแบบทุนนิยมที่จ้างคนงานเกษตร นายทุนเกษตร คนงานเกษตร และเจ้าที่ดิน

ขบวนการล้อมรั้วในอังกฤษ (ศ.13-16) การเฟื่องฟูของอุตสาหกรรมทอผ้าในยุโรป ราคาวัตถุดิบ (ขนแกะ) ขึ้นสูง การกวาดล้างชนบทอังกฤษ ขับไล่ประชากรผู้เช่า แทนที่ด้วยฝูงแกะและการล้อมรั้ว คนจรจัด ขอทาน อาชญากร รัฐบาลบังคับโดย Poor Laws ให้เข้าทำงานในโรงงาน

การเกิดขึ้นของชนชั้นคนงาน การล่มสลายของเกษตรกรรมแบบดั้งเดิม การเสื่อมสลายของ manors เกษตรกรและช่างฝีมือที่ล้มละลาย การแตกสลายของสมาคมช่างฝีมือ (guilds) การบังคับของรัฐโดยกฎหมายต่าง ๆ ยกเลิกความสัมพันธ์แบบศักดินา

การเฟื่องฟูของการค้าโลก เทคนิคการเดินเรือแบบใหม่ (ศ.16) การสำรวจเส้นทางเดินเรือใหม่สู่เอเชีย การล่าเมืองขึ้นในทวีปอเมริกาและอาฟริกา การหลั่งไหลของทองและเงินมาสู่ยุโรป ภาวะราคาสินค้าขึ้นในระยะยาว กำไรเพิ่มขึ้นรวดเร็วกว่าค่าเช่าที่ดินและค่าจ้างแรงงาน

การค้าทาสในอาฟริกาและทวีปอเมริกา การค้าฝิ่นและเครื่องเทศในเอเชีย การลดต้นทุนค่าขนส่งและเทคโนโลยีการต่อเรือแบบใหม่ ความสำคัญของพลังอำนาจทางทะเลกับลัทธิล่าเมืองขึ้น อังกฤษเป็นมหาอำนาจทางทะเลแทนที่สเปน (ศ.16)

การเกิดของรัฐชาติ (nation states) การสร้างตลาดภายในประเทศ มาตรฐานเงินตรา การชั่งตวงวัด ภาษี และการบังคับใช้กฎหมาย ความขัดแย้งระหว่างกษัตริย์กับชนชั้นผู้ดีเก่า “การสร้างชาติ” โดยพันธมิตรกษัตริย์-พ่อค้าด้วยการสร้างระบบราชการและกองทัพประจำการ

ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ยุโรป ลัทธิเทวสิทธิ์ของกษัตริย์ (Divine rights of kings) กษัตริย์คือ “ชาติ” และ “รัฐ” ทำลายอำนาจท้องถิ่นของชนชั้นผู้ดีเก่า แนวร่วมกับชนชั้นพ่อค้าและชาวนา รวมศูนย์อำนาจรัฐมาที่กษัตริย์ สร้าง “รัฐบาลกลาง” ระบบราชการ การคลังแบบรวมศูนย์ และกองทัพ

ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ยุโรป กษัตริย์กับพ่อค้า ชนชั้นผู้ดี รัฐชาติ และลัทธิชาตินิยม ระบบราชการและกองทัพประจำการ

“ลัทธิชาตินิยม” (nationalism) เป็นปรากฏการณ์สมัยใหม่ ทำอย่างไร “องค์อธิปัตย์และชาติ” จึงจะ “เข้มแข็ง”? อำนาจทางการเมือง อำนาจทางทหาร อำนาจทางเศรษฐกิจ พาณิชย์นิยม mercantilism แนวคิดเศรษฐกิจ