บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 14 เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
Advertisements

บทที่ 7 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการขายและลูกหนี้
บทที่ 12 ระบบบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ถาวร
บทที่ 8 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินสด
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
บทที่ 3 เอกสารทางการบัญชี
Statement of Cash Flows



โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
ซอฟต์แวร์.
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
จัดทำโดย ฝ่าย บัญชี และ การเงิน IT ปี 3
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
ระบบการจัดส่งสินค้า (Shipping system)
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
บทที่ 4 งบการเงิน.
การร่วมค้า (Joint Venture)
ระบบบัญชีเดี่ยว.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
ระบบบัญชี.
การตรวจสอบด้านการเงิน
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
วงจรการผลิต วงจรของกิจกรรมการวางแผนและควบคุมการผลิต การผลิตและการบริหารสินค้าคงเหลือ ผลิตสินค้า การวางแผนและ ควบคุมการผลิต บริหารสินค้าคงเหลือ.
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
การเงิน.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) BY MANATSADA
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
(Transaction Processing Systems)
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
เรื่อง ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง
สินค้าคงเหลือ.
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
บทที่ 9 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง
ลักษณะของระบบบัญชี.
หน่วยที่ 13 การจัดทำรายงาน.
ฝ่ายบริหารทั่วไป หน้าที่ความรับผิดชอบ รับผิดชอบการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป ได้แก่ งานธุรการ งานสารบรรณ งานการเงิน บัญชี และพัสดุ งานยานพาหนะ งานจัดทำและบริหารงบประมาณ.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ระบบการเรียกเก็บหนี้
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
Assessment and Evaluation System
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
การวัดการวิจัยในการตลาด
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
Accounts payable system
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
Creative Accounting
บทที่7 ระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี

ความหมายและความสำคัญของระบบบัญชี ระบบบัญชี (Accounting System) คือ ระบบการจัดเก็บข้อมูลทางการเงินอันประกอบด้วยแบบฟอร์ม หรือเอกสารต่าง ๆ บันทึกทางการบัญชี รายงาน ตลอดจนวิธีการและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ได้นำมาใช้ในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงาน และการเงินของกิจการแห่งใดแห่งหนึ่งให้แก่ฝ่ายจัดการ

ความสำคัญของระบบบัญชี ข้อมูลทางการบัญชีเป็นเครื่องวัดผลในการดำเนินงานในรอบระยะเวลาที่ผ่านมา เพื่อที่จะใช้เป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารในด้านการควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ซึ่งในองค์กรหรือกิจการที่ใหญ่ ๆ ที่มีการแบ่งงานออกเป็นหลายส่วน และมีพนักงานเป็นจำนวนมาก เจ้าของหรือผู้บริหารไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง จำเป็นต้องมีการมอบหมายอำนาจหน้าที่ในการบริหารงานและขยายขอบเขตการควบคุมออกไปให้หัวหน้าของส่วนงานต่าง ๆ เป็นผู้รับผิดชอบ ในกิจการขนาดใหญ่จึงจำเป็นต้องมีระบบบัญชีที่ดี

ส่วนประกอบของระบบบัญชี 1. เอกสารและการบันทึกทางการบัญชี 2. วิธีการต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการใช้แบบฟอร์ม การลงรายการในสมุดรายวัน บัญชีแยกประเภท และการทำรายงาน 3. เครื่องจักรและเครื่องทุ่นแรงต่าง ๆ ได้แก่ เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องคำนวณเลขเครื่องจักรลงบัญชี เครื่องคอมพิวเตอร์ และอื่น ๆ

ประเภทของงานวางระบบบัญชี แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ประเภทของงานวางระบบบัญชี แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. การวางระบบบัญชีของกิจการใหม่ทั้งหมด การวางระบบบัญชีในกรณีการขยายระบบบัญชีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเพื่อให้ครอบคลุมถึงกิจกรรมที่เกิด การปรับปรุงระบบบัญชีและวิธีการบัญชีที่ใช้ในปัจจุบัน

การติดตามผล เมื่อได้นำเอาระบบใหม่ออกใช้ปฏิบัติงานเป็นเวลานานพอสมควรแล้ว ผู้วางระบบบัญชีควรจะติดตามดูว่าได้ผลตามที่มุ่งหมายไว้หรือไม่ อย่างไร ในบางกรณี วิธีการที่กำหนดไว้อาจจะไม่เหมาะสมในทางปฏิบัติเนื่องจากทำให้งานล่าช้า หรือเสียค่าใช้จ่ายสูง ไม่คุ้มกับประโยชน์ที่ได้รับ ผู้วางระบบก็จะทำการพิจารณาดำเนินการแก้ไขเสียใหม่เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์

ในปัจจุบันพบว่าข้อมูลที่ได้จากการทำระบบบัญชีที่จะนำมาเสียภาษียังไม่ถูกต้องเพราะ ในเรื่องการรับเงิน ในเรื่องการจ่ายเงิน ในเรื่องเงินสำรองจ่าย ในเรื่องการจ่ายค่าแรง ในเรื่องการขาย ในเรื่องของลูกหนี้การค้า ควรมีการตรวจติดตามลูกหนี้การค้า

กลับ 8. ในเรื่องของเจ้าหนี้การค้า 9. ในเรื่องของสินค้าคงคลัง 8. ในเรื่องของเจ้าหนี้การค้า 9. ในเรื่องของสินค้าคงคลัง 10. ในเรื่องการจัดซื้อ 11. ในเรื่องของเงินทุน 12. ในเรื่องทรัพย์สิน 13. ในเรื่องต้นทุนการผลิต กลับ