เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
ป.3 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน100,000”
ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การบวก จำนวนเต็มบวก กับ จำนวนเต็มบวก
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
CS Assembly Language Programming
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
อสมการ.
ระบบตัวเลขฐานสิบสอง สัญลักษณ์หรือเลขโดดที่ใช้ในระบบตัวเลขฐานสิบสอง
Number System[1] เลขฐาน & ASCII CODE Number System[1]
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
EEE 271 Digital Techniques
Digital Logic and Circuit Design
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อ สำหรับบุคคลที่มีปัญหาการเรียนคณิตศาสตร์
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
Introduction to Digital System
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
การแปลงเลขฐานใดๆเป็นฐานใดๆ
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแจกแจงปกติ.
CS Assembly Language Programming
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ           ก.
ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
ระบบเลขในคอมพิวเตอร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Chapter 3 - Stack, - Queue,- Infix Prefix Postfix
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ระบบเลขฐาน.
ระบบเลขฐาน V.2 ม.6.
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง โรงเรียนปทุมวิไล
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
Introduction to Digital System
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ

ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐาน เลขฐาน 2 , 8 และ 16 การเขียนสัญลักษณ์ 112 อ่านว่า หนึ่ง หนึ่ง ฐานสอง 358 อ่านว่า สาม ห้า ฐานแปด 7C16 อ่านว่า เจ็ด ซี ฐานสิบหก

ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐาน ตาราง แสดงตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐานต่าง ๆ ระบบเลขฐาน ชื่อภาษาอังกฤษ ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐานนั้น 2 4 6 8 10 16 Binary system Quantanary system Senary system Octanary system Denary system Hexadenary system 0 1 0 1 2 3 0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5 6 7 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F

การนับเลขฐานต่าง ๆ ฐาน 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 11 12 13 14 15 16 17 18 หลักการ เมื่อนับเพิ่มตัวเลขในฐานในหลักหนึ่งจนครบทุกตัวเลขแล้ว ค่าถัดไปในหลักเดียวกันจะวนไปเริ่มใช้เลข 0 อีกครั้ง และจะไปเพิ่มค่าในหลักถัดไป เป็นอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ ทุกจำนวนจะมีเลข 0 นำหน้า แต่ไม่นิยมเขียนไว้ เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักหน่วยแล้ว 9 จะวนไปที่เลข 0 ฐาน 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ตัวเลขในหลักสิบจะเพิ่ม จากเดิม 1 เป็น 2 1 11 12 13 14 15 16 17 18 19 หลักสิบจะเพิ่มขึ้น จากเดิม 0 เป็น 1 เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักหน่วยแล้ว 9 จะวนไปที่เลข 0 2 21 . . .

การนับเลขฐานต่าง ๆ ฐาน 2 ฐาน 10 : 1 2 3 4 5 6 7 8          1 2 3 4 5 6 7 8          ฐาน 2 : 1 1 11 1 101 110 111 1000 เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักหน่วยแล้ว 1 จะวนไปที่เลข 0 เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักหน่วยแล้ว 1 จะวนไปที่เลข 0 จะเพิ่มตัวเลขในหลักสิบ จากเดิม 0 เป็น 1 เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักสิบแล้ว 1 จะวนไปที่เลข 0 จะเพิ่มตัวเลขในหลักร้อย จากเดิม 0 เป็น 1

การนับเลขฐานต่าง ๆ ฐาน 8 ฐาน 10 : 1 2 3 4 5 6 7 8          เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักหน่วยแล้ว 7 จะวนไปที่เลข 0 ฐาน 10 : 1 2 3 4 5 6 7 8          ฐาน 8 : 1 2 3 4 5 6 7 1 เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักหน่วยแล้ว 7 จะวนไปที่เลข 0 จะเพิ่มตัวเลขในหลักสิบ จากเดิม 1 เป็น 2 ฐาน 10 : 9 10 11 12 13 จะเพิ่มตัวเลขในหลักสิบ จากเดิม 0 เป็น 1 14 15 16 17          ฐาน 8 : 11 12 13 14 15 16 17 2 21

การนับเลขฐานต่าง ๆ ฐาน 16 ฐาน 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 จะเพิ่มตัวเลขในหลักสิบ จากเดิม 0 เป็น 1 เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักหน่วยแล้ว F จะวนไปที่เลข 0 ฐาน 16 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F 1 11 12 13

ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐาน ค่าของตัวเลขในฐานต่าง ๆ บอกได้ 2 สิ่ง คือ ค่าประจำตัวของแต่ละตัว ค่าหลักในตำแหน่งที่ตัวเลขนั้นปรากฏอยู่ (Position Notation) เช่น 62 6 มีค่าเท่ากับ 6 และมีค่าเป็นหลักสิบ 2 มีค่าเท่ากับ 2 และมีค่าเป็นหลักหน่วย

ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐาน ระบบเลขฐานสิบ เช่น 357.69 กระจายได้ดังนี้ 357.69 = 300 + 50 + 7 + .60 + .09 = ( 3  102 ) + ( 5  101 ) + ( 7  100 ) + ( 6  10 – 1 ) + ( 9  10 -2 )

ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐาน ระบบเลขฐานสอง เช่น 100.012 กระจายได้ดังนี้ 100.012 = ( 1  22 ) + (0  21 ) + (0  20 ) + ( 0  2 – 1 ) + ( 1  2 -2 )

ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐาน ระบบเลขฐานแปด เช่น 126.578 กระจายได้ดังนี้ 126.578 = (1  82 ) + (2  81 ) + (6  80 ) + ( 5  8 – 1 ) + ( 7  8 -2 )

ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐาน ระบบเลขฐานสิบหก เช่น 8BC.F16 กระจายได้ดังนี้ 8BC.F16 = ( 8  162 ) + ( B  161 ) + ( C  160 ) + ( F  16 – 1 ) 1 1 12 15 10 = A , 11 = B , 12 = C , 13 = D , 14 = E , 15 = F

การเปลี่ยนเลขฐานของตัวเลขในระบบเลขฐานต่างๆ การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ

การเปลี่ยนเลขฐานของตัวเลขในระบบเลขฐานต่างๆ เช่น 1011.012 เปลี่ยนเป็นฐานสิบ วิธีทำ นำค่าของฐานคูณกับตัวเลขนั้น ๆ แล้วบวกกัน 1011.012 = ( 1  23 ) + (0  22 ) + ( 1  21 ) + ( 1  20) + (0  2 – 1 ) + ( 1  2 -2 ) = ( 1  23 ) + (0  22 ) + ( 1  21 ) + ( 1  20) + (0  ) + ( 1  )

การเปลี่ยนเลขฐานของตัวเลขในระบบเลขฐานต่างๆ การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ 1011.012 = ( 1  23 ) + (0  22 ) + ( 1  21 ) + ( 1  20) + (0  ) + ( 1  ) = ( 1  8 ) + ( 0  4 ) + ( 1  2 ) + ( 1  1 ) + (0  0.5 ) + ( 1  0.25 ) = 8 + 0 + 2 + 1 + 0 + 0.25 = 11.25

การเปลี่ยนเลขฐานของตัวเลขในระบบเลขฐานต่างๆ การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ เช่น 326.178 เปลี่ยนเป็นฐานสิบ 326.178 = (3  82 ) + (2  81 ) + (6  80 ) + ( 1  8 – 1 ) + ( 7  8 -2 ) = ( 3  82 ) + (2  81 ) + ( 6  80 ) + (1  ) + ( 7  )

การเปลี่ยนเลขฐานของตัวเลขในระบบเลขฐานต่างๆ การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ 326.178 = ( 3  82 ) + (2  81 ) + ( 6  80 ) + (1  ) + ( 7  ) = (3  64 ) + (2  8) + (6  1 ) + ( 1  0.125) + ( 7  0.015625) = 192 + 16 + 6 + 0.125 + 0.109375 = 214.234375

การเปลี่ยนเลขฐานของตัวเลขในระบบเลขฐานต่างๆ การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ เช่น B18.516 เปลี่ยนเป็นฐานสิบ B18.516 = ( 11  162 ) + ( 1  161 ) + (8  160 ) + ( 5  16 – 1 ) = ( 11  162 ) + ( 1  161 ) + ( 8  160 ) + ( 5  )

การเปลี่ยนเลขฐานของตัวเลขในระบบเลขฐานต่างๆ การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ B18.516 = ( 11  162 ) + ( 1  161 ) + ( 8  160 ) + (5  ) = ( 11  256 ) + ( 1  16) + (8  1 ) + ( 5  0.0625 ) = 2816 + 16 + 8 + 0.3125 = 2840.3125

การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นฐานอื่น ๆ การเปลี่ยนตัวเลขหน้าจุดทศนิยม นำเลขฐานสิบเป็น ตัวตั้ง ตัวเลขฐานใหม่เป็น ตัวหาร หารสั้นจนได้ 0 เพื่อ หาเศษ เรียงเศษที่ได้จาก ล่างขึ้นบน

การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นฐานอื่น ๆ การเปลี่ยนตัวเลขหลังจุดทศนิยม นำเลขฐานสิบหลังจุดทศนิยมเป็น ตัวตั้ง ตัวเลขฐานใหม่เป็น ตัวคูณ คูณจนได้ 0 (หรือตามจำนวนทศนิยมที่กำหนด) เพื่อ หาจำนวนเหน้าทศนิยม เรียงจำนวนเต็มที่ได้จาก บนลงล่าง

การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นฐานอื่น ๆ ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 24 เป็นเลขฐานสอง 2 เศษ 2 1 2 2 6 2 3 2 1 1 1 ดังนั้น 24 เปลี่ยนเป็นเลขฐานสองได้เท่ากับ 110002

การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นฐานอื่น ๆ ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 11.75 เป็นเลขฐานสอง เลขหน้าทศนิยม เลขหลังทศนิยม 2 เศษ .75  2 5 1 2 คูณเฉพาะเลขที่อยู่หลังทศนิยม 2 2 1.5 1  2 2 1 1.0 1 ดังนั้น 11.75 เปลี่ยนเป็นเลขฐานสองได้เท่ากับ 1011.112

การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นฐานอื่น ๆ ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 17.25 เป็นเลขฐานแปด เลขหน้าทศนิยม เลขหลังทศนิยม 8 เศษ .25  8 2 1 8 2 2.0 ดังนั้น 17.25 เปลี่ยนเป็นเลขฐานแปดได้เท่ากับ 21.28

การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นฐานอื่น ๆ ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 472.125 เป็นเลขฐานสิบหก เลขหน้าทศนิยม เลขหลังทศนิยม 16 เศษ .125 16 29  8 16 16 1 13 = D 2.00 1 ดังนั้น 472.125 เปลี่ยนเป็นเลขฐานสิบหกได้เท่ากับ 1 D8.216

การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ วิธีทำ วิธีที่ 1 แปลงเป็นเลขฐานสิบ  ฐานที่ต้องการ วิธีที่ 2 เปลี่ยนฐานสอง  ฐาน 8 , ฐาน 16 แยกเลขฐานสอง โดยเริ่มจากจุดทศนิยม ไปทางซ้าย หรือ ทางขวา ฐาน 8 แยกเลขฐานสองครั้งละ 3 ตัว ฐาน 16 แยกเลขฐานสองครั้งละ 4 ตัว

การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 1110101.10112 เป็นเลขฐานแปด 4 2 1 4 2 1 4 2 1 4 2 1 4 2 1 ฐานสอง . 0 0 1 1 1 0 1 0 1 1 0 1 1 0 0 ฐานแปด . 1 6 5 5 4 ดังนั้น 1110101.10112 = 1 65.548

การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 1110101.10112 เป็นเลขฐานสิบหก 8 4 2 1 8 4 2 1 8 4 2 1 ฐานสอง . 0 1 1 1 0 1 0 1 1 0 1 1 ฐานสิบหก . 7 5 B ดังนั้น 1110101.10112 = 75.B 16

การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 165.548 เป็นเลขฐานสอง 4 2 1 4 2 1 4 2 1 4 2 1 4 2 1 ฐานแปด . 1 6 5 5 4 ฐานสอง . 0 0 1 1 1 0 1 0 1 1 0 1 1 0 0 ดังนั้น 165.548 = 1110101.101112

การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 75.B16 เป็นเลขฐานสอง 8 4 2 1 8 4 2 1 8 4 2 1 ฐานสิบหก . 7 5 B ฐานสอง . 0 1 1 1 0 1 0 1 1 0 1 1 ดังนั้น 75.B16 = 1110101.10112

การคำนวณเลขฐาน  คำนวณได้เฉพาะเลขฐานเดียวกัน การบวกเลขฐาน บวกกันแล้วน้อยกว่าฐาน  ใส่ค่าที่บวกได้ บวกกันแล้วมากกว่าฐาน  ใส่ค่าที่เกินจาก ฐาน  ทด

การคำนวณเลขฐาน ตัวอย่าง จงหาค่าของ 1101.112 + 110.12 1 1 1 1 1 1 0 1 . 1 1 1 + 1 + 1 = 11 ใส่ 1 ทด 1 1 + 1 = 10 ใส่ 0 ทด 1 1 + 1 = 10 ใส่ 10 1 + 1 = 10 ใส่ 0 ทด 1 1 + 0 = 1 1 + 1 = 10 ใส่ 0 ทด 1 + 1 1 0. 1 10 1 . 1 ดังนั้น 1101.112 + 110.12 = 10100.012

การคำนวณเลขฐาน ตัวอย่าง จงหาค่าของ 546.28 + 1748 1 1 1 + 4 + 7= 12 เกิน 8 ไป 4 ใส่ 4 ทด 1 6 + 4= 10 เกิน 8 ไป 2 ใส่ 2 ทด 1 5 4 6 . 2 1 + 5 + 1= 7 2 + 0 = 2 + 1 7 4 7 4 2 . 2 ดังนั้น 546.28 + 1748 = 742.28

การคำนวณเลขฐาน 4 A 0 3 C D 8 6 D ตัวอย่าง จงหาค่าของ 4A016 + 3CD16 1 เกิน 16 ไป 6 ใส่ 6 ทด 1 + 1 + 4 + 3= 8 0 + D = D 3 C D 8 6 D ดังนั้น 4A016 + 3CD16 = 86D16

การคำนวณเลขฐาน การลบเลขฐาน ถ้าตัวตั้งมากกว่าตัวลบ ใส่ผลลัพธ์ได้เลย ถ้าตัวตั้งมากกว่าตัวลบ ใส่ผลลัพธ์ได้เลย ตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบจะต้องยืม ส่วนที่ยืมมา นั้นจะมีค่าเท่ากับฐาน

ตัวหน้าสุดที่ถูกยืม เหลือ 0 การคำนวณเลขฐาน ถูกยืมไปอีกจึงเหลือ 1 ตัวถัดมายืม กลายป็น 2 ตัวอย่าง จงหาค่าของ 1011.012 - 111.12 ตัวหน้าสุดที่ถูกยืม เหลือ 0 2 1 2 2 2 0 ลบ 1 ไม่ได้ ยืมตัวหน้าไม่มี ยืมตัวหน้าสุดอีกที 0 ลบ 1 ไม่ได้ ยืมตัวหน้ามาเป็น 2 2 – 1 = 1 0 ลบ 1 ไม่ได้ ยืมตัวหน้ามาเป็น 2 2 – 1 = 1 1 0 1 1 . 0 1 1 - 0 = 1 - 1 1 1 . 1 1 – 1 = 0 1 1 . 1 1 ตัวที่ถูกยืมไป 1 เหลือ 0 ตัวที่ถูกยืมไป 1 เหลือ 0 ยืมได้ 2 2 – 1 = 1 ดังนั้น 1011.012 - 111.12 = 11.112

การคำนวณเลขฐาน ตัวอย่าง จงหาค่าของ D7.A16 - 7C.916 12 C 23 7 ลบ C ( 12) ไม่ได้ ยืมตัวหน้ามาเป็น 7+16=23 D 7 . A A - 9 = 10 – 9 = 1 - D ถูกยืมไป 1 เหลือ C 7 C .9 C = 12 5 B . 1 23 – 12 = 11 = B 12 – 7 = 5 ดังนั้น D7.A16 - 7C.916 = 5B.1 16

การคำนวณเลขฐาน การคูณเลขฐานต่าง ๆ ตั้งหลักของตัวตั้งและตัวคูณให้ตรงกัน คูณเช่นเดียวกับระบบฐานสิบ ใช้ตารางช่วย

การคำนวณเลขฐาน ตารางคูณเลขฐานสอง 1

ตารางคูณเลขฐานแปด 1 2 3 4 5 6 7 11 10 14 20 12 17 24 31 23 30 36 44 16 25 34 43 52 61

ตารางคูณเลขฐานสิบหก ?? การบ้าน !!

การคำนวณเลขฐาน ตัวอย่าง จงหาค่าของ 10112  1112 1 0 1 1 1  1 = 1  1 1 1 1 1 1 1 1+0+1+1 = 11 ใส่ 1 ทด 1 1+1+0+1 = 11 ใส่ 1 ทด 1 1 + 1 = 10 ใส่ 0 ทด 1 1 + 1 = 10 ใส่ 0 ทด 1 1 + 1 = 10 ใส่ 10 1  1 = 1 1 1 1 1 0 1 1 + 1  0= 0 1 0 1 1 + 1  1 = 1 10 1 1 1 ดังนั้น 10112  1112 = 10011012

การคำนวณเลขฐาน ตัวอย่าง จงหาค่าของ 468  328 2 1 4 6 8 34 = 14 บวกที่ทด 2 14+2 = 16 ใส่ 16 24 = 10 บวกที่ทด 1 10+1 = 11 ใส่ 11  3 2 8 36 = 22 ใส่ 2 ทด 2 26 = 14 ใส่ 4 ทด 1 1 1 4 + 1 6 2 1 7 3 4 ดังนั้น 468  328 = 17348

การคำนวณเลขฐาน ตัวอย่าง จงหาค่าของ 3B916  2A16 7 1 5 1 3 B 9 16 23 = 6 บวกที่ทด 1 6+1 = 7 ใส่ 7 A3 = 1E บวกที่ทด 7 1E+7 = 25 ใส่ 25 2B = 16 บวกที่ทด 1 16+1 = 17 ใส่ 7 ทด 1 AB = 6E บวกที่ทด 5 6E+5 = 73 ใส่ 3 ทด 7  29 = 12 ใส่ 2 ทด 1 2 A 16 A9 = 5A ใส่ A ทด 5 2 5 3 A + 7 7 2 9 C 5 A ดังนั้น 3B916  2A16= 9C5A 16

การคำนวณเลขฐาน การหาร ใช้วิธีหารยาวธรรมดา  ใช้ตารางช่วย เปลี่ยนให้เป็นฐานสิบก่อน หารยาวใน ฐานสิบ แล้วเปลี่ยนฐานกลับคืน

การคำนวณเลขฐาน 1 1 . 1 ตัวอย่าง จงหาค่าของ 1000012  1102 1 1 0 - 1 ตัวอย่าง จงหาค่าของ 1000012  1102 1 1 . 1 1 1 0 - 1 1 1 0 1 - 1 1 1 1 0 - ดังนั้น 1000012  1102 = 101.12

การคำนวณเลขฐาน 4 2 . 6 6 6 … ตัวอย่าง จงหาค่าของ 3648  78 - 3 4 2 4 - ตัวอย่าง จงหาค่าของ 3648  78 4 2 . 6 6 6 … - 3 4 2 4 - 1 6 6 - 5 2 6 ดังนั้น 3648  78 = 42.68

End . . .