โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมายของโครงงาน.
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
การศึกษารายกรณี.
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ผลิตสินค้าและบริการ.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การปลูกพืชผักสวนครัว
หน่วยการเรียนรู้ คืออะไร
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
โครงงาน หมายถึง กิจกรรมการศึกษาวิชาการงานที่ส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียนได้เลือกขึ้นมาศึกษา ค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรค์ ผลงานตามที่ตนเองมีความถนัด มีความพร้อมและสนใจ.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวิเคราะห์ผู้เรียน
การเขียนรายงานการวิจัย
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การเขียนรายงานการวิจัย
รูปแบบการสอน.
การปลูกพืชผักสวนครัว
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
กระบวนการวิจัย Process of Research
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
3 แบบทดสอบก่อนเรียน 1. โครงงานวิทยาศาสตร์มีกี่ประเภท 1. 3 ประเภท 2. 4 ประเภท 3. 5 ประเภท 4. 6 ประเภท 2. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของโครงงาน 1. โครงงานประเภททดลอง.
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแนว 7 Es
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงาน
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ….

โครงงาน เป็นการศึกษาค้นคว้าหาคำตอบ เรื่องที่ผู้เรียนสนใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างลึกซึ้ง โดยลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะของการศึกษา สำรวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น โดยมีครูเป็นผู้คอยกระตุ้นแนะนำและให้คำปรึกษา อย่างใกล้ชิด

โครงงานเป็นเสมือนสะพานเชื่อมโยงระหว่างห้องเรียนกับโลกภายนอก ที่ช่วยให้นักเรียนได้นำความรู้ในชั้นเรียน บูรณาการกับกิจกรรม ที่จะกระทำเพื่อนำไปสู่ความรู้ใหม่ ๆ ด้วยการสร้างความหมาย การแก้ปัญหาและการค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง

ประโยชน์ของการทำโครงงาน ได้เรียนเรื่องที่ตนเองอยากเรียน แสวงหาความรู้ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยการปฏิบัติจริงในการค้าคว้าจากแหล่งข้อมูล ฝึกทักษะการวางแผน การจัดการ การเป็นผู้นำ ผู้ตามที่ดี ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน หาเหตุผล คิดสร้างสรรค์ สร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น รู้จักชุมชนและสิ่งแวดล้อมรอบตัว

ประเภทของโครงงาน 1. โครงงานตามสาระการเรียนรู้ เป็นโครงงานที่ครูจำกัดขอบเขตเนื้อหาที่อยู่ในเรื่องที่เรียนในกลุ่มสาระเช่นกลุ่มการงาน นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับพืชผักในท้องถิ่น หรือศึกษาวิธีการทำขนมที่ใช้ในวันเทศกาลสำคัญของคนล้านนา 2. โครงงานอิสระ (ตามความสนใจ) ไม่จำกัดขอบเขตใดๆ นักเรียนสามารถศึกษาได้ตามศักยภาพของตนเอง

ประเภทของโครงงานตามลักษณะการดำเนินงาน 4 ประเภท ประเภทของโครงงานตามลักษณะการดำเนินงาน 4 ประเภท 1. โครงงานประเภทสำรวจ 2. โครงงานประเภททดลอง 3. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ 4. โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีขึ้นมาใหม่

โครงงาประเภทสำรวจ ตัวอย่างโครงงานประเภทสำรวจ เป็นการหาคำตอบในเรื่องที่สนใจโดยการสำรวจด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งที่เหมาะสม อาจใช้แบบสอบถาม การสังเกต การสัมภาษณ์ ฯลฯ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลนำมาทำสถิติ แล้วอธิบายคำตอบ ตัวอย่างโครงงานประเภทสำรวจ - โครงงานสำรวจผักสมุนไพรที่ปลูกในหมู่บ้านนักเรียน - การสำรวจพิธีกรรมทางศาสนาในท้องถิ่น - การสำรวจของเล่นพื้นบ้านล้านนา - โบราณสถาน โบราณวัตถุในท้องถิ่น

โครงงานประเภททดลอง - ยากันยุงจากพืชสมุนไพร มีลักษณะการออกแบบทดลองโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จะเริ่มตั้งแต่กำหนดคำถาม ที่ต้องการคำตอบ ตั้งสมมุติฐาน กำหนดแหล่งข้อมูลที่จะศึกษาปฏิบัติ การหาข้อมูลเพื่อตอบคำถาม รวบรวมข้อมูลนำมาสรุปเป็นองค์ความรู้ ตัวอย่างโครงงาน … - ยากันยุงจากพืชสมุนไพร - การผลิตเครื่องสำอางจากกล้วย - การทำยาฆ่าแมลงจากสารที่สกัดจากสะเดา - การเก็บถั่วงอกให้สดและขาว - การปลูกพืชสวนครัวโดยไม่ใช้ดิน

โครงงานประเภทประดิษฐ์ โครงงานประเภทนี้เป็นการประดิษฐ์สิ่งใดสิ่งหนึ่ง เครื่องมือ เครื่องใช้ หรือ อุปกรณ์ เพื่อใช้สอยต่าง ๆ สิ่งประดิษฐ์นี้อาจคิดขึ้นมาใหม่หรือปรับปรุงจาก ของเดิม มีการกำหนดตัวแปรที่จะศึกษาและทดสอบประสิทธิภาพของชิ้นงาน ตัวอย่างหัวข้อโครงงาน …. เครื่องแยกกากผลไม้ เครื่องคัดแยกขนาดของส้ม เครื่องหยอดเมล็ด เครื่องกรองดักไขมัน

โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีขึ้นมาใหม่ โดยทดลองทำค้นคว้าจนค้นพบข้อสรุปความรู้ใหม่ที่ยังไม่มีใครพบ หรือความรู้ที่มีผู้ค้นพบแล้วแต่นักเรียนยังไม่รับทราบ เราควรคิดโครงงานใหม่ๆ หรือทำใกล้เคียงกับโครงงานเก่า แต่คิดต่อยอดพัฒนาขยายความรู้ ให้กว้างขึ้น …..

ขั้นตอนการทำโครงงาน 1. กำหนดปัญหาหรือหัวข้อที่ต้องการศึกษา 2. กำหนดตัวแปรที่ต้องการศึกษาเป็นตัวแปรต้น ผลที่ตามมาเป็นตัวแปรตาม ถ้ามีความจำเป็นต้องควบคุมตัวแปรเพื่อให้ข้อมูลน่าเชื่อถือ ตัวแปรนั้น คือ ตัวแปรควบคุม 3. ออกแบบการทดลองหรือกำหนดวิธีการหรือแหล่งข้อมูลที่จะต้องไปศึกษา 4. ดำเนินการทดลองตามแผนที่วางไว้ มีการทดลองหลาย ๆ ครั้ง (อย่างน้อย 3 ครั้ง) เพื่อให้เกิดความแน่ใจก่อนนำผลที่ได้มาสรุป 5. อภิปรายผล นำข้อมูลที่ได้จากการทดลองมาประเมิน อภิปราย โดยการศึกษาจากเอกสารหลักฐานอื่น ๆ ประกอบ 6. นำเสนอผลการศึกษาในรูปรายงานหรือจัดบอร์ดแสดงสิ่งที่ศึกษา

สรุป โครงงาน เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง เป็นการเรียนรู้ที่สร้างและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนโดยสมบูรณ์และมีความสมดุล ทั้งด้านจิตใจ ร่างกาย ปัญญา และสังคม การเรียนรู้โดยโครงงาน จึงเป็นการเรียนที่ฝึกกระบวนการคิด การทำงานอย่างเป็นระบบ

ขอให้ทุกคน ศึกษาค้นคว้า อย่างมีความสุขนะครับ..

ด้วยความปรารถนาดีจาก.. ครูเกศรินทร์ สิทธิมงคล ครูเกศรินทร์ สิทธิมงคล