• เป็นความจริง เชื่อถือได้ • แตกต่างจากความรู้ เดิม • ใช้ประโยชน์ได้ • เหมาะกับบริบทและ ความต้องการ ของสังคม • เป็นสากล • นำไปสู่การพัฒนา หรือต่อยอด
ประโยชน์ของงานวิจัยที่ดี ต่อวงการวิชาการ
• ลบล้าง / แก้ไข / ทำความกระจ่าง / พัฒนาความรู้เดิม • ช่วยบูรณาการความรู้ที่มีอยู่ • ให้มุมมองใหม่ในการทำความเข้าใจสาระเนื้อหา • ช่วยให้เกิดการตั้งสมมติฐานใหม่ • ให้ข้อสรุปทั่วไป / ทฤษฎี / กฎที่ต่างจากเดิม • นำไปสู่การท้าทายโต้เถียงในวงการวิชาการ
ลักษณะงานวิจัยที่ ดี 1. เนื้อหาสาระ ( พันธุ์ดี ) 2. วิธีการ ( การ เพาะบำรุงดี ) 3. ผลงาน ( ผลดี )
เริ่มต้นที่ความอยากรู้ โดยค้นหาข้อมูลจาก แหล่งต่างๆ ให้ครอบคลุม จนแน่ใจว่ายังไม่มีคำตอบ จึงต้องออกแบบวิธีหาคำตอบที่ น่าเชื่อถือที่สุด ตามกระบวนการวิจัย และพยายามเต็มที่เพื่อ ได้คำตอบด้วยการพิสูจน์ ถึงที่สุดจนเกิดความมั่นใจ ก่อนนำเสนอผล
สิ่งที่บั่นทอนคุณค่าของ งานวิจัย 1. สักแต่ทำ ทำชุ่ยๆ พอให้เสร็จ 2. เกียจคร้านมักง่าย ไม่ อดทน 3. ใช้วิธีวิจัยที่ไม่เหมาะ กับปัญหา 4. พอใจกับผลงานโดย ไม่สงสัย 5. ไม่วิเคราะห์
เกณฑ์การประเมิน งานวิจัย 1. มีประเด็นโจทย์ สมมติฐาน ข้อจำกัดชัดเจน 2. สำรวจวรรณกรรม ครบถ้วน 3. นิยามตัวแปร ชัดเจน 4. ระเบียบวิธีวิจัย น่าเชื่อถือ 5. มีการวิเคราะห์และ สรุปดี 6. มีความละเอียด ถูกต้อง 7. แสดงประโยชน์ที่ ได้รับชัดเจน