กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

โครงงานคอมพิวเตอร์.
สมดุลเคมี.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
หินแปร (Metamorphic rocks)
Laboratory in Physical Chemistry II
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
ครูไพรินทร์ เจริญศิริ hotmail.com
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารกัดกร่อน.
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
เคมีอินทรีย์ ฟีนอล และแอริลเฮไลด์
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
แบบฝึกหัด.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
สมบัติทางเคมีของเอมีน
1. การจัดแยกประเภทของเสียในห้องปฏิบัติการ 2
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
บทที่ 9 Amines.
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
แบบฝึกหัดการเตรียมสารละลาย
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
DNA สำคัญอย่างไร.
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สารประกอบ.
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
Phosphorus and Phosphate
สารเคมีในบ้านเป็นกรดหรือเบส
เคมี ม.6 ว30225 เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry)
Lab : protein chemistry JUN 27th, 2014 Rujira Patanawanitkul, M. D
ACID-BASE เราไปกันเลย Jutimat Rattanapan.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
การจำแนกประเภทของสาร
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
การออกแบบการเรียนรู้
สารที่ใช้ในการทำความสะอาด
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
พันธะเคมี.
วิทยาศาสตร์ Next.
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์

สารละลายกรดและสารละลายเบส

สารละลายกรดและสารละลายเบส เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง บางชนิดมีรสเปรี้ยว มีฤทธิ์กัด ทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิด ทำปฏิกิริยากับเบสได้เกลือกับน้ำ ทำปฏิกิริยากับเกลือคาร์บอเนต นำไฟฟ้าได้

สารละลายกรดและสารละลายเบส เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน มีรสฝาดหรือขม ลื่นมือคล้ายสบู่ ส่วนใหญ่ไม่ทำปฏิกิริยากับโลหะที่อุณหภูมิปกติ ทำปฏิกิริยากับกรดได้เกลือกับน้ำ ต้มกับสารละลายเกลือแอมโมเนียมได้ก๊าซแอมโมเนีย นำไฟฟ้าได้

ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดมีคุณสมบัติบางประการเหมือนกัน เช่น เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นแดง ทำปฏิกิริยากับโลหะได้ก๊าซไฮโดรเจน ที่เป็นเช่นนั้นเพราะว่า ในสารละลายกรดทุกชนิดประกอบด้วย ไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) เหมือนกัน

ไอออนในสารละลายเบส สารละลายเบสมีคุณสมบัติบางประการเหมือนกัน เช่น เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นน้ำเงิน ทำปฏิกิริยากับเกลือแอมโมเนียมได้ก๊าซแอมโมเนีย ที่เป็นเช่นนั้นเพราะว่า ในสารละลายเบสทุกชนิดประกอบด้วย ไฮดรอกไซด์ (OH-) เหมือนกัน

ประเภทของกรด กรดอาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ กรดอินทรีย์ หมายถึงกรดที่มีหมู่คาร์บอกซิล หมู่ซัลโฟนิก เป็นหมู่ฟังก์ชัน เป็นกรดที่มีอยู่ในธรรมชาติหรือได้จากสิ่งมีชีวิต กรดอนินทรีย์ หมายถึงกรดที่ได้จากสิ่งไม่มีชีวิต เช่น กรดไฮโดร กรดออกโซ

ประเภทของเบส เบสอาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ เบสอินทรีย์ หมายถึงเบสที่อยู่ในธรรมชาติ หรือได้จากสิ่งมีชีวิต ได้แก่ สารประกอบประเภทเอมีน เบสอนินทรีย์ หมายถึง เบสที่เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต เช่น สารประกอบไฮดรอกไซด์

ทฤษฎีกรดเบส อาร์เรเนียส นักเคมีชาวสวีเดนให้นิยามของกรด-เบสดังนี้ กรด คือสารที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน เบส คือสารที่เมื่อละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน H+ OH-

ทฤษฎีกรดเบส โยฮันเนส นิโคเลาส์ เบรินสเตดและทอมัส มาติน ลาวรี นักเคมีชาวอังกฤษ ได้นิยามกรดเบส ตามทฤษฎีเบรินสเตด-ลาวรีว่า กรด คือสารที่สามารถให้โปรตอนกับสารอื่นได้ เบส คือสารที่สามารถรับโปรตอนจากสารอื่นได้

H+ OH- ทฤษฎีกรดเบส ลิวอีสไดเสนอนิยามของกรดและเบสดังนี้ กรด คือ สารที่สามารถรับอิเล็กตรอนคู่ จากเบส แล้วเกิดพันธะโคเวเลนต์ เบส คือ สารที่สามารถให้อิเล็กตรอนคู่ในการเกิดพันธะโคเวเลนต์ H+ OH-

pH ของสารละลาย การบอกความเป็นกรด เป็นเบสของสารละลายโดยอาศัยค่าความเข้มข้นของ H3O+ หรือ OH- ไม่สะดวกและมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นได้ง่าย ดังนั้น ซอเรนซัน จึงได้เสนอวิธีบอกความเป็นกรด-เบส ของสารละลายขึ้นใหม่ คือ “มาตราส่วน pH” ย่อมาจาก power hydrogen ion โดยกำหนดให้ pH = -log [H+] = -log [H3O+]

pH ของสารละลาย สารละลายที่พบบ่อยๆ ส่วนมากจะมี pH อยู่ในระหว่าง 0-14 แต่อย่างไรก็ตาม pH ของสารละลายอาจมีค่าน้อยกว่า 0 หรือมากกว่า 14 ก็ได้ *นอกจากนี้ ยังสามารถบอกความเป็นกรด-เบสของสารละลายเป็น มาตราส่วน pOH ก็ได้โดย pOH = - log [OH-]

pH ของสารละลาย ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่า pH + pOH = 14

อินดิเคเตอร์สำหรับกรด-เบส อินดิเคเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นสารอินทรีย์มีสมบัติเป็นกรดอ่อน มีโครงสร้างซับซ้อน เป็นสารที่มีสีและสามารถเปลี่ยนสีได้เมื่อ pH ของสารละลายเปลี่ยนไป ตามทฤษฎีแล้ว อินดิเคเตอร์ในสภาพโมเลกุลกับสภาพไอออน จะมีสีต่างกัน

การไทเทรตกรด-เบส การไทเทรต คือวิธีการหาปริมาตรของสารละลายมาตรฐาน(สารละลายที่ทราบความเข้มข้นแน่นอน) ที่ทำปฏิกิริยากับสารละลายอื่นซึ่งทราบปริมาตรแล้ว แต่ยังไม่ทราบความเข้มข้น จุดที่กรด-เบสทำปฏิกิริยากันพอดีเรียกว่า จุดสมมูลหรือจุดสะเทิน จุดที่อินดิเคเตอร์เปลี่ยนสี เรียกว่า จุดยุติ * เนื่องจากส่วนใหญ่จะใช้อินดิเคเตอร์เป็นตัวบอกจุดที่ควรยุติการไทเทรตโดยการสังเกตสี หรือการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์