ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
บทที่2 การแจกแจงความถี่ (Frequency Distributions)
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เอกสารประกอบคำสอนอาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
การประมาณค่าทางสถิติ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
2-test.
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การทดสอบสมมติฐาน
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การแจกแจงปกติ.
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
การลงข้อมูลแผนการสอน
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) ค่าเฉลี่ ย 1. ผู้เรียนชอบทำงานร่วมกับเพื่อ เมื่อเรียนวิชาระบบเครือข่าย.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การค้นในปริภูมิสถานะ
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น หน่วยที่ 13 สถิติศาสตร์ ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น

ตอนที่ 13.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติศาสตร์ ไม่อิงพารามิเตอร์ 1.3.2 การทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติ ศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์กรณีกลุ่ม ตัวอย่างกลุ่มเดียว

ตอนที่ 1.3.3 การทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติ 1.3.3 การทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติ ศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์กรณีกลุ่ม ตัวอย่างสองกลุ่มที่สัมพันธ์กัน 13.4 การทดสอบสมติฐานโดยใช้สถิติ ศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ในกรณีกลุ่ม ตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระกัน

ตอนที่ 13.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์

สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ คือ สถิติศาสตร์ที่อิสระจากการแจก แจงเป็นการทดสอบทางสถิติที่ไม่อยู่ ภายใต้ข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับการ แจกแจงของประชากร

ข้อดี 1. ไม่ต้องระบุว่าประชากรมีการแจก แจงแบบใด 2. กลุ่มตัวอย่างมีขนาดเล็ก 3. มีข้อตกลงเบื้องต้นน้อยกว่าสถิติศาสตร์ อิงพารามิเตอร์

ข้อดี 4. เหมาะกับข้อมูลที่เก็บจากประชากร หลายกลุ่มที่แตกต่างกัน 5. ใช้ได้กับข้อมูลที่วัดในมาตรานาม บัญญัติและมาตราเรียงลำดับ

ข้อจำกัด 1. ถ้าการแจกแจงของประชากรเป็นไป ตามข้อตกลงเบื้องต้นที่จะใช้สถิติศาสตร์ อิงพารามิเตอร์ในกรณีที่สมมุติฐานว่า เป็น เท็จ สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ จะมี ความไวในการปฏิเสธน้อยกว่าสถิติศาสตร์ อิงพารามิเตอร์

ข้อจำกัด การทดสอบโดยใช้สถิติศาสตร์ไม่อิงพารา 2. ถ้าข้อมูลเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นของสถิติศาสตร์อิงพารามิเตอร์ การทดสอบโดยใช้สถิติศาสตร์ไม่อิงพารา มิเตอร์จะมีประสิทธิภาพน้อยกว่า

1. การทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติ ศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์กรณีกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มเดียว 1.1 การทดสอบไคสแควร์ ตัวอย่าง สภากาชาดไทยรายงานว่า กลุ่ม เลือดของคนไทย A B AB และ O คิด เป็นร้อยละ 40 10 5 และ 45 จาก

การสำรวจผู้มาบริจาคโลหิตจำนวน 80 คน พบว่ามีกลุ่มเลือด A B AB และ O จำนวน 32 10 6 และ 32 ตามลำดับ อยากทราบว่าผลสำรวจสอดคล้องกับ รายงานของสภากาชาดไทยหรือไม่ที่ ระดับนัยสำคัญ 0.05

วิธีทำ 1. กำหนดสมมุติฐานทางสถิติ H0: กลุ่มเลือดของคนไทย A B AB และ O คิดเป็นร้อยละ 40 10 5 และ 45 ตามลำดับ

วิธีทำ H1: กลุ่มเลือดของคนไทย A B AB และ O อย่างน้อยหนึ่งกลุ่มไม่ เป็นไปตามที่รายงาน

วิธีทำ 2. เลือกสถิติทดสอบและตรวจสอบข้อ ตกลงเบื้องตน เลือก   4 i = 1 = (Oi – Ei)2 Ei และ d.f. = 4-1 = 3

3. กำหนดระดับนัยสำคัญ หาค่าวิกฤต และบริเวณวิกฤต  = 0.05 หาค่าวิกฤตและบริเวณวิกฤต เปิดตารางที่ 5 หน้า 323  = 0.05 d.f. = 3

0.005 0.01 0.95 v 1 2 3 4 5 . 30 0.995 0.99 . . . 0.05 ตารางที่ 5 หน้า 323 7.815 พ.ท.ใต้โค้งทางขวา  พ.ท.ใต้โค้งทางซ้าย

ตาราง บริเวณวิกฤต 0.05 2 = 7.815

4. คำนวณค่าสถิติทดสอบจากข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มเลือด ความถี่ที่สังเกตได้ (O) ความถี่ที่ คาดหวัง (E) O-E (O-E)2 E A 32 0.40x80=32 B 10 0.10x80=8 2 4 0.5 AB 6 0.05x80=4 1 0.45x80=36 -4 16 0.44 80 1.94 2 คำนวณ

5. สรุปผลค่า ที่คำนวณได้ไม่อยู่ ในบริเวณวิกฤต จึงไม่สามารถปฏิเสธ 5. สรุปผลค่า ที่คำนวณได้ไม่อยู่ ในบริเวณวิกฤต จึงไม่สามารถปฏิเสธ สมมุติฐานว่างได้ดังนี้ สรุป ได้ว่ากลุ่มเลือดของคนไทยสอดคล้อง กับรายงานของสภากาชาดไทย 2

คำนวณ ตาราง บริเวณวิกฤต 0.05 2 = 1.94 = 7.815

การทดสอบเครื่องหมาย เป็นการใช้เครื่องหมายบวก (+) และลบ(-) แทนความแตกต่างของข้อมูลทีละคู่ แล้ววิเคราะห์ความถี่ของเครื่องหมายบวกและลบนั้นว่ามีจำนวนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่

ตัวอย่าง ผู้จัดการอบรมต้องการทราบว่าความ รู้หลังอบรมของผู้เข้ารับการอบรมจะเพิ่ม ขึ้นหรือไม่ จึงสุ่มตัวอย่างผู้เข้าอบรมมา 8 คน แล้ววัดความรู้ด้วยข้อสอบฉบับหนึ่ง ก่อนและหลังอบรมได้ผลดังตารางทั้งนี้กำหนดระดับนัยสำคัญเท่ากับ 0.05

วิธีทำ Ho : ความรู้ก่อนและหลังอบรมไม่ แตกต่างกัน

คนที่ ก่อนอบรม หลังอบรม เครื่องหมาย 1 14 36 - 2 18 31 3 20 19 + 4 28 48 5 10 6 34 49 7 8 24 29

จากตารางมีเครื่องหมายบวก 1 เครื่อง หมาย เครื่องหมายลบ 6 เครื่องหมายไม่มีเครื่องหมาย 1 เครื่องหมาย ดังนั้น N=7 และ x =1 เปิดตารางที่ 8 หน้า 329 ที่ N=7 และ x=1 จะได้ค่าความน่าจะเป็นเท่ากับ 0.062 ซึ่งมากกว่าค่าระดับนัยสำคัญ 0.05 ดังนั้นจึงยอมรับสมมุติฐานว่าง

สรุปผล คะแนนก่อนและหลังอบรมไม่ ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

N 0 1 2 3 . . . . 17 4 5 6 7 8 . 35 062 ตารางที่ 8 หน้า 329