สารประกอบอินทรีย์ ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
การเรียกชื่อตามระบบ IUPAC
Imidazole จึงเป็นสารประกอบอะโรมาติก
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เคมีอินทรีย์ แอลคีน ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
เคมีอินทรีย์ แอลกอฮอล์ และอีเทอร์
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
เคมีอินทรีย์ แอลดีไฮด์และคีโตน
ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
สารกัดกร่อน.
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
เคมีอินทรีย์ แอลไคน์ และแอลคาไดอีน
เคมีอินทรีย์ ฟีนอล และแอริลเฮไลด์
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
การเสื่อมเสียของอาหาร
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
แบบฝึกหัด.
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
สมบัติทางเคมีของเอมีน
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
แนวโน้มของตารางธาตุ.
Naming and Physical & Chemical Properties of Organic Chemistry
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Part4 : Alcohols and Reaction of Alcohols
Chemical Properties of Grain
สารชีวโมเลกุลและเมแทบอลิซึม (Biomolecule and metabolism)
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 9 Amines.
บทที่ 6 Alcohols and Ethers
บทที่ 5 Alkyl Halides.
บทที่ 1 Introduction.
บทที่ 7 Aldehydes and Ketones
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
Alkyl halide Alkyl halide หรือ Aryl halide มีสูตรทั่วไป คือ R - X หรือ Ar - X มีความสำคัญในด้านต่าง ๆ เช่น ใช้เป็นยาฆ่าแมลง ยาปฏิชีวนะ.
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
สารอินทรีย์และการเรียกชื่อ
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สารประกอบ.
Position Isomerism Functional Isomerism Geometric Isomer
เคมี ม.6 ว30225 เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry)
ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
การจำแนกประเภทของสาร
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
หมู่ฟังก์ชัน (Functional Group)
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
ธาตุและสารประกอบ จัดทำโดย เด็กหญิงสุปราณี เทียนทอง
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารประกอบอินทรีย์ ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ

กรดคาร์บอกซิลิก(Carboxylic acid) กรดอินทรีย์ หรือกรดคาร์บอกซิลิก (Carboxylic axid) สูตรทั่วไป R – COOH หมู่ฟังก์ชันคือ – COOH เรียกว่า หมู่คาร์บอกซิล(carboxyl group)

การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิก เรียกชื่อเช่นเดียวกันกับการเรียกชื่อสารประกอบแอลเคน แต่ให้เปลี่ยนอักษรตัวท้ายจาก e เป็น oic และให้นับ C ในหมู่ – COOH เป็นตำแหน่งที่1 เสมอ สูตรโครงสร้าง ชื่อIUPAC H–COOH Methanoic acid CH3–COOH Ethanoic acid CH3CH2–COOH Propanoic acid CH3CH2CH2–COOH Butanoic acid

การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิก สูตรโครงสร้าง ชื่อIUPAC 2,3-dimethylpentanoic acid 2-bromobutanoic acid 2-hydroxy-4-methyl pentanoic acid

การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิก สูตรโครงสร้าง ชื่อIUPAC 3-phenylpropanoic acid Cyclopentanecarboxylic 1-methylcyclohexane carboxylic Phenylmethanoic (benzoic acid)

การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิก 3-(p-chlorophenyl)pentanoic acid

สมบัติทางกายภาพของกรดคาร์บอกซิลิก สูตรโครงสร้าง จุดเดือด (C) สภาพละลายได้ในน้ำ (g/110mL) HCOOH 100.8 ละลายได้ดี CH3COOH 117.9 CH3CH2COOH 140.8 CH3(CH2)2COOH 163.3 CH3(CH2)3COOH 185.5 3.7 ข้อมูลจาก : เคมี เล่ม๕ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จุดเดือดของกรดคาร์บอกซิลิกและแอลกอฮอล์ สูตรโครงสร้าง มวลโมเลกุล จุดเดือด (C) CH3CH2OH 46 78.3 HCOOH 101 CH3CH2CH2OH 60 97.2 CH3COOH 118 ข้อมูลจาก : เคมีอินทรีย์เบื้องต้น, รศ.ดร.พิมพ์จิต ดามพวรรณ:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

สมบัติทางกายภาพของกรดคาร์บอกซิลิก กรดคาร์บอกซิลิกโซ่ตรงมีจุดเดือดเพิ่มขึ้นตามมวลโมเลกุลที่เพิ่มขึ้น กรดคาร์บอกซิลิกโมเลกุลเล็กละลายน้ำได้ดีกว่าโมเลกุลใหญ่ ความสามารถในการละลายลดลงเมื่อโมเลกุลใหญ่ขึ้น กรดคาร์บอกซิลิกมีจุดเดือดสูงกว่าแอลกอฮอล์ที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน ส่วนที่มีขั้ว ส่วนที่ไม่มีขั้ว

สมบัติทางกายภาพของกรดคาร์บอกซิลิก กรดคาร์บอกซิลิกโซ่ตรงมีจุดเดือดเพิ่มขึ้นตามมวลโมเลกุลที่เพิ่มขึ้น กรดคาร์บอกซิลิกโมเลกุลเล็กละลายน้ำได้ดีกว่าโมเลกุลใหญ่ ความสามารถในการละลายลดลงเมื่อโมเลกุลใหญ่ขึ้น กรดคาร์บอกซิลิกมีจุดเดือดสูงกว่าแอลกอฮอล์ที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน ส่วนที่มีขั้ว ส่วนที่ไม่มีขั้ว

พันธะไฮโดรเจน พันธะไฮโดรเจน พันธะไฮโดรเจน

พันธะไฮโดรเจน http://www.mbi-berlin.de/en/research/projects/2-04/subprojects/Subproject1/acetic_acid_dimer.jpg

ปฏิกิริยาเคมีของกรดคาร์บอกซิลิก ปฏิกิริยาการเกิดเกลือ ปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์ ปฏิกิริยารีดักชัน

กรดฟอร์มิก กรดฟอร์มิกพบครั้งแรก ค.ศ.1670 โดยกลั่นจากมดแดง กรดฟอร์มิกมาจากคำว่า formica (ภาษาละติน หมายถึง มด) สุนทร พรจำเริญ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

กรดแอซิติก กรดแอซิติก หรือกรดน้ำส้ม ได้จากการหมักน้ำตาล ผลไม้ หรือ เอทานอล น้ำส้มสายชูเป็นสารละลายเจือจางของกรดแอซิติก(4-5%) กรดแอซิติกบริสุทธิ์เรียกว่า glacial acetic acid มีจุดหลอมเหลวที่ 17C

Alpha Hydroxy Acid:AHA (พบในอ้อย) (พบในแอปเปิล) (พบในนมเปรี้ยว) กรดแอลฟาไฮดรอกซี ใช้เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์บำรุงผิว ทำให้ผิวนุ่ม ไร้ริ้วรอยช่วยปรับสภาพผิว

เอสเทอร์(Ester) เอสเทอร์เป็นอนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิก โดยหมู่ OH ของกรดถูกแทนที่ด้วยหมู่ OR หรือ OAr สูตรทั่วไปของเอสเทอร์

เอสเทอริฟิเคชัน(Esterification) กรดคาร์บอกซิลิก แอลกอฮอล์ เอสเทอร์ น้ำ

การเรียกชื่อเอสเทอร์ เรียกชื่อหมู่แอลคิล(R) หรือหมู่เอริล(Ar)ที่มาจากแอลกอฮอล์ก่อนแล้วตามด้วยชื่อของกรดคาร์บอกซิลิก โดยเปลี่ยนคำลงท้ายกรดจาก ic เป็น ate สูตรโครงสร้าง ชื่อIUPAC methylethanoate phenylethanoate 1-methylethyl-3-methylbutanoate

การเรียกชื่อเอสเทอร์ 2-methylpropyl-2,4-dimethylpentanoate

จุดเดือดของเอสเทอร์และกรดคาร์บอกซิลิก สูตร โมเลกุล เอสเทอร์ กรดคาร์บอกซิลิก สูตรโครงสร้าง จุดเดือด (C) C2H4O2 HCOOH 31.7 CH3COOH 117.9 C3H6O2 HCOOCH2CH3 54.4 CH3CH2COOH 141.1 CH3COOCH3 56.9 C4H8O2 HCOOCH2CH2CH3 80.9 CH3CH2CH2COOH 163.7 CH3COOCH2CH3 77.1 CH3CH2COOCH3 79.8 ข้อมูลจาก : เคมี เล่ม๕ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กลิ่นเอสเทอร์บางชนิด สูตรโครงสร้าง กลิ่นเอสเทอร์ CH3COOCH2(CH2)6CH3 กลิ่นส้ม CH3CH2CH2COOCH2CH3 กลิ่นสับปะรด CH3COOCH2(CH2)3 CH3 กลิ่นกล้วย CH3CH2CH2COOCH3 กลิ่นแอปเปิล กลิ่นน้ำมันระกำ

ปฏิกิริยาเคมีของเอสเทอร์ ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส(Hydrolysis) ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน(Saponification)