การเขียนผลงานวิชาการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

การเขียนบทความ.
หลักการบันทึกข้อความ
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ปัญหาในการสั่งงาน 1. ตัวเราเอง/หัวหน้าไม่กล้า, เกรงใจ, กลัว ต้องเชื่อมั่นตนเอง 2. ไม่รู้ขั้นตอนสั่งงานที่ดี จับประเด็นไม่ได้
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
แนะนำวิทยากร.
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
คุยกันก่อนเรียน สัมมนาสัตวศาสตร์ ปีการศึกษา 2551.
PDCA คืออะไร P D C A.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
การเขียนโครงการ.
การจัดกระทำข้อมูล.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การเขียนข้อเสนอการวิจัย
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
การเขียนรายงานการวิจัย
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การอ่านเชิงวิเคราะห์
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
หลักการและวิธีการ ทำรายงานการสอบสวน
การฟังเพลง.
วิชาการวิจัยอย่างง่าย
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การอ่านเชิงวิเคราะห์
วิธีการคิดวิเคราะห์.
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนผลงานวิชาการ งานวิจัยสถาบัน

การเขียนผลงานวิชาการเป็นงานที่ท้าทายในการสร้างสรรค์ผลงานวิชาการให้เป็นรูปธรรม ใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล มีหลักฐานเชื่อถือได้ มีลำดับถูกต้องเป็นสำคัญ เป็นสาระสำคัญที่ใช้สื่อความหมายระหว่างผู้เกี่ยวข้องให้รับรู้ เข้าใจรวมทั้งได้ประโยชน์

ข้อเขียนทางวิชาการต้องยึดหลักสำคัญ ต้องเป็นข้อมูลหรือความรู้ใหม่ เป็นความจริง มีความสำคัญ เข้าใจได้ง่าย

การเตรียมการเพื่อการเขียนผลงานวิจัย วางแผนการเขียน เขียนโครงร่าง ลงมือเขียน ประเมิน ตรวจ แก้ไข ปรับปรุง เขียนใหม่

การเขียนต้องเตรียมคำถามเพื่อคำตอบ 1.ต้องการจะบอกให้ผู้อ่านรู้และทราบเรื่องอะไร 2.ทำไมจึงจะเขียนเรื่องนี้ มีความสำคัญอย่างไร มีคุณค่าเพียงใด 3.จะเขียนให้ใครอ่าน 4.ใครคือผู้เขียนจะเขียนร่วมกับใคร 5.ลักษณะของผลงานเป็นอย่างไร มีรูปแบบกำหนดไว้อย่างไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง มีโครงร่างหัวข้อสำคัญอย่างไร 6.มีข้อมูลอะไรบ้าง

การเขียนต้องเตรียมคำถามเพื่อคำตอบ 6.มีข้อมูลอะไรบ้าง (ต่อ) ต้องตอบคำถามเหล่านี้ เหตุผลและความสำคัญที่มาของเรื่อง วัตถุประสงค์ของการเขียน มีวิธีการอย่างไร มีข้อมูลตรงตามสาระสำคัญหรือไม่ มีผลที่ได้จากการคำนวณ วิเคราะห์พร้อมหรือไม่ มีเอกสารอ้างอิงครบถ้วนหรือไม่ 7.มีแผนการเขียนอย่างไร กำหนดไว้เช่นไร แล้วเสร็จอย่างไร

ปัญหาอุปสรรคในการเขียน ขาดการฝึกฝน ไม่ฝึกปฏิบัติ ไม่รู้จักเลียนแบบ ไม่มีประสบการณ์ ขาดความมั่นใจ

ข้อเท็จจริงที่ต้องนำมาพิจารณา ต้องบังคับใจตนเองให้เขียนให้ได้และเขียนให้ได้อย่างต่อเนื่อง ทำโครงร่างตามลำดับความคิดว่าจะเสนออะไรตามลำดับของสาระสำคัญ แล้วเขียนขยายความตามลำดับ เขียนครั้งแรกแล้วจำต้องปรับปรุงแก้ไขเมื่อตรวจทานการแก้ไขปรับปรุงจะทำให้ดีขึ้นเสมอ เริ่มจากส่วนที่มีข้อมูลสมบูรณ์ที่สุด มากที่สุดและง่ายที่สุดก่อนแล้วจึงจะมาเรียงลำดับให้เป็นไปตามลำดับ และตรวจสอบ ทบทวน ปรับปรุง แก้ไข ให้ถูกต้องตามรูปแบบที่กำหนด

ข้อเท็จจริงที่ต้องนำมาพิจารณา(ต่อ) กรณีมีผู้ร่วมทำผลงาน ให้ผู้ร่วมผลงานตรวจทาน ปรับปรุงแก้ไข วิพากษ์ วิจารณ์เพื่อให้ได้ข้อเขียนทึ่ถูกต้องสมบูรณ์ ควรที่จะให้ผู้รู้ ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือผู้มีประสบการณ์อ่านและวิจารณ์เพื่อจะได้ข้อคิดเห็นสำหรับการปรับปรุงแก้ไขให้ได้มาตรฐาน

แนวทางในการจัดทำผลงาน ผลงานจะออกมาเป็นรูปธรรมได้ต้องผ่านกระบวนการ คือ การคิด การเตรียมการ การฝึกปฏิบัติ การจัดทำ การเขียน

จาก เทคนิคการเขียนผลงานทางวิชาการให้ได้มาตรฐาน โดยศาสตราจารย์ ดร.เวคิน นพนิตย์