นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ เศรษฐกิจพอเพียง โดย นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ ครูชำนาญการ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชทานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแก่พสกนิกรชาวไทยเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต
หลักการสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง ความหมาย หลักการสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงสำหรับบุคคลทั่วไป เศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเกษตรกร พระราชดำรัส “ทฤษฎีใหม่”
เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง 1.ความสามารถของชุมชนเมือง รัฐ ประเทศหรือภูมิภาคหนึ่งๆในการผลิตสินค้า และบริการทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคมนั้นๆได้โดยไม่ต้องพึ่งพาปัจจัยต่างๆที่เราไม่ได้เป็นเจ้าของ
"ยึดทางสายกลางในการดำเนินชีวิต" 2. ความสามารถในการดำเนินชีวิตได้อย่างไม่เดือดร้อนมีความเป็นอยู่ประมาณตน ตามฐานะ ตามอัตภาพ สรุป "มัฌชิมา ปฏิปมา" "ยึดทางสายกลางในการดำเนินชีวิต"
ถ้าคนเราใช้ชีวิตแบบพอเพียง พออยู่พอกิน เดินทางสายกลาง ก็จะทำให้ชีวิตเป็นสุข
1. ไม่ใช้จ่ายเกินตัวหรือไม่ลงทุนเกินขนาดความสามารถของตน หลักการสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ไม่ใช้จ่ายเกินตัวหรือไม่ลงทุนเกินขนาดความสามารถของตน 2. พึ่งตนเองเป็นหลัก 3. รวมตัวกันและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 4. ใช้ศักยภาพที่มีอยู่ในตัวให้เต็มที่ 5. เติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน
1.ประหยัด ตัดตอนรายจ่ายในทุกด้าน และลดความฟุ่มเฟือย ในการดำรงชีวิต เศรษฐกิจพอเพียงสำหรับบุคคลทั่วไป 1.ประหยัด ตัดตอนรายจ่ายในทุกด้าน และลดความฟุ่มเฟือย ในการดำรงชีวิต
2.ประกอบอาชีพด้วยความสุจริตและถูกต้อง
3.ลดละการแก่งแย่งผลประโยชน์ และการแข่งขันทางการค้าขาย 3.ลดละการแก่งแย่งผลประโยชน์ และการแข่งขันทางการค้าขาย
4.ขวนขวายใฝ่หาความรู้ ให้มีรายได้เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงในการดำรงชีวิต
เศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเกษตรกร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวคิดที่เรียกว่า การเกษตรทฤษฎีใหม่
หลักการสำคัญของการเกษตรทฤษฎีใหม่ - รู้จักการบริหารจัดการดินและน้ำ การบริหารเวลา เงินทุน และกำลังคน เพื่อให้เกิดผลผลิตเพียงพอ ในการเลี้ยงตัวเอง ให้มีรายได้หมุนเวียนตลอดทั้งปี ในระยะแรกควรผลิตพืชหมุนเวียนในการบริโภคก่อน กินอยู่อย่างประหยัด ขยันหมั่นเพียร สามัคคี ช่วยเหลือกัน หากได้ผลผลิตมาเกินบริโภคแล้ว จึงจำหน่าย
การดำเนินงานตามทฤษฎีใหม่ 3 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 มีความพอเพียง เลี้ยงตัวเองได้ บนพื้นฐานของความ ประหยัด ขจัดการใช้จ่าย ขั้นที่ 2 รวมพลังกันในรูปกลุ่ม หรือสหกรณ์เพื่อทำการผลิต การตลาด การจัดการ รวมทั้งด้านสวัสดิการ การศึกษา สังคม และศาสนา ขั้นที่ 3 สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพ และขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้หลากหลาย
แนวทางปฏิบัติการเกษตรทฤษฎีใหม่ 30 % 30 % 10 % 30 %
พื้นที่นาข้าว 30 %
บ่อน้ำ 30 %
พื้นที่ปลูกพืชไร่พืชสวน 30 % พื้นที่ปลูกพืชไร่พืชสวน 30 %
พื้นที่อยู่อาศัย 10 %
พื้นที่นาข้าว ร้อยละ 30 ของเนื้อที่ทั้งหมด
พื้นที่ปลูกพืชไร่-พืชสวน ร้อยละ 30 ของพื้นที่ทั้งหมด
พื้นที่บ่อน้ำ ร้อยละ 30 ของเนื้อที่ทั้งหมด
พื้นที่อยู่อาศัย ร้อยละ 10 ของพื้นที่ทั้งหมด
ปลูกพืชหมุนเวียนให้ผลผลิตเร็ว
ทำตามอัตภาพ รอบคอบ ไม่หวังผลมากเกินไป
เลี้ยงสัตว์เพื่อบริโภค เหลือค่อยจำหน่ายต่อไป
ทำอาชีพเสริมเพิ่มรายได้
แบ่งกิน แบ่งใช้ จำหน่ายออก แบ่งกิน แบ่งใช้ จำหน่ายออก
(พระราชดำรัส เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2538) “ทฤษฎีใหม่มีไว้ป้องกันความขาดแคลน ในยามปกติก็จะทำให้ร่ำรวยมากขึ้น ในยามที่มีอุทกภัยก็สามารถที่จะฟื้นตัวได้รวดเร็ว ทำให้ประชาชนมีโอกาสพึ่งตนเองได้อย่างดีโดยไม่ต้องให้ราชการช่วยมากเกินไป ฉะนั้นจึงได้สนับสนุนให้มีการปฏิบัติตาม “ทฤษฎีใหม่” ” (พระราชดำรัส เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2538)
พระราชดำรัส เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2541 ..ทฤษฎีใหม่...ยืดหยุ่นได้ และต้องมียืดหยุ่น เหมือนชีวิตของเราทุกคน ต้องยืดหยุ่น
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ทรงงานหนัก ด้วยใจรักหวังให้พสกนิกรท่าน มีชีวิตที่มั่นคงสุขสำราญ ตามโครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อปวงชน