การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา
การถดถอยเชิงเดียว (simple regression)
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
การประมาณค่าทางสถิติ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
Graphical Methods for Describing Data
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์ความแปรปรวน
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
Menu Analyze > Correlate
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
การประเมินผลผลลัพธ์การดำเนินงาน ที่สำคัญ ( พ. ศ. ๒๕๕๓ ) ๑. ความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพ การให้บริการของหน่วยงานระดับ Front Office ( ๓. ๑. ๑. ๑ ) ๒. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการ.
การทดสอบสมมติฐาน
การศึกษาความพึงพอใจของ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปร MANOVA
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
กราฟเบื้องต้น.
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 7 ครูปพิชญา คนยืน จงสร้างตารางแจก แจงความถี่ของ ข้อมูลต่อไปนี้ โดย กำหนดให้มี 5 ชั้น และหาขอบล่าง, ขอบบน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล บทที่ 5 การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล

วิธีการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล วิธีการตรวจสอบโดยใช้กราฟ วิธีการตรวจสอบโดยใช้สมมุติฐาน BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

กราฟที่ใช้ตรวจสอบการแจกแจงความถี่ของข้อมูล Histogram Stem and Leaf Plot Boxplot Normal plot Detrended Normal Plot BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

วิธีการตรวจสอบโดยใช้สมมติฐาน Kolmogorov-Smirnov Test (K-S Test) จะใช้เมื่อข้อมูลมีมากว่า 50 case Shapiro-Wilk Test จะใช้เมื่อข้อมูลมีไม่มากกว่า 50 case BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

การตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูลแบบไม่แยกกลุ่ม ลักษณะของข้อมูลที่ใช้มีเพียง 1 ชุด เท่านั้น ในกรณีที่มีกลุ่มย่อย ๆ แต่จะทดสอบรวมเป็นกลุ่มเดียว คำสั่งที่ใช้ Analyze Descriptive Statistics Explore BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

การแปรผลของการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล ส่วนที่ 1 ตัวแปรที่ใช้ในการวิเคราะห์คือตัวแปร Sale .ใช้ข้อมูลทั้งหมด 40 ค่า (Case) ไม่มีข้อมูลสูญหาย (Missing) BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

ส่วนที่ 2 BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

ส่วนที่ 2 ตารางแสดงค่าสถิติเบื้องต้นของตัวแปร sale ค่าเฉลี่ยของยอดขายเป็น 68.90 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานเป็น 1.78 การประมาณค่าแบบช่วงของค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 65.31 ถึง 72.49 ที่ช่วงความเชื่อมั่น 95% ค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่ตัดค่าสูงสุดและค่าต่ำสุดทิ้งไปอย่างละ5%เป็น 68.69 ค่ามัธยฐานเป็น 68.00 ค่าความแปรปรวนเป็น 126.297 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 11.24 ยอดขายต่ำสุดเป็น 45 ยอดขายสูงสุดเป็น 96 ค่าพิสัยเป็น 51 ค่า Q3-Q1=14 ค่าความเบ้เป็น 0.248 แสดงว่ามีการแจกแจงใกล้เคียงกับแบบปกติ ค่าความโด่งเป็น -0.062 แสดงความความโด่งใกล้เคียงโด่งแบบปกติ BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

ส่วนที่ 3 เป็นการแสดงค่า Percentiles ตั้งแต่P5 ถึง P95 ดังนี้ BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

ส่วนที่ 4 ทดสอบสมมติฐานว่าข้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติหรือไม่ 1) สมมติฐาน H0 : ข้อมูล Sale มีการแจกแจงแบบปกติ H1 : ข้อมูล Sale ไม่มีการแจกแจงแบบปกติ 2) สถิติทดสอบคือ shapiro-wilk = 0.987 3) กำหนด ค่าระดับนัยสำคัญ = 0.05 4) ค่า Sig = 0.945 5) ค่า sig> นั่นคือ Accept Ho สรุปได้ว่าข้อมูล Sale มีการแจกแจงแบบปกติ BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

หมายเหตุ การทดสอบการแจกแจงแบบปกติ ในกรณีที่ข้อมูลมีมากว่า 50 Case ผลการวิเคราะห์จะได้เพียงการทดสอบโดยใช้ K-S Test เท่านั้น ในกรณีที่มีการกำหนดค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานให้จะต้องใช้การทดสอบ K-S (ไม่ใช่ Lilliefors) BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

จะเห็นได้ว่าข้อมูลมีการแจกแจงใกล้เคียงการแจกแจงปกติ ส่วนที่ 5 Histogram แสดงข้อมูลของยอดขาย โดยที่แกนนอนแทนข้อมูล และแกนตั้งแทนจำนวนความถี่ข้อมูล จะเห็นได้ว่าข้อมูลมีการแจกแจงใกล้เคียงการแจกแจงปกติ BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

sale amount Stem-and-Leaf Plot Frequency Stem & Leaf .00 4 . 1.00 4 . 5 4.00 5 . 2344 2.00 5 . 56 7.00 6 . 0122344 8.00 6 . 55677799 6.00 7 . 011134 6.00 7 . 566889 2.00 8 . 13 2.00 8 . 77 1.00 9 . 0 1.00 9 . 6 Stem width: 10 Each leaf: 1 case(s) ส่วนที่ 6 Stem and Leaf ลองแปรผลเอง BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

ส่วนที่ 7 Normal Q-Q Plot ข้อมูลกระจายตัวอยู่ใกล้เคียงกับเส้นตรง แสดงว่า ข้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

ส่วนที่ 8 Detrended Normal Q-Q Plot ข้อมูลกระจายตัวอยู่รอบเส้นตรงโดยไม่มีรูปแบบ แสดงว่า ข้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

ส่วนที่ 9 Boxplot ลองแปรผลเอง BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

การตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูลแบบแยกกลุ่ม เป็นการเปรียบเทียบลักษณะข้อมูลหลาย ๆ กลุ่มพร้อม ๆ กัน เช่น เปรียบเทียบข้อมูล เรื่องของยอดขายแยกตามเพศ คำสั่งที่ใช้ Analyze  Descriptive  Explore BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

sale amount Stem-and-Leaf Plot for SEX= female Frequency Stem & Leaf 1.00 5 . 4 2.00 5 . 56 5.00 6 . 12344 7.00 6 . 5677799 4.00 7 . 1113 3.00 7 . 689 1.00 8 . 1 1.00 Extremes (>=96) Stem width: 10 Each leaf: 1 case(s) sale amount Stem-and-Leaf Plot for SEX= male Frequency Stem & Leaf 1.00 4 . 5 3.00 5 . 234 3.00 6 . 025 5.00 7 . 04568 3.00 8 . 377 1.00 9 . 0 Stem width: 10 Each leaf: 1 case(s) BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham

BC428 Statistical Software for Decision Making A.Bootsara Prakobtham