ไดอะล็อค : สุนทรียสนทนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
ฟังให้ดีมีประโยชน์.
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
การให้คำปรึกษา ผศ.ดร.สมบัติ ตาปัญญา ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
นิยาม Reflection กระบวนการสะท้อนความคิด (a metacognitive process)
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การสร้างประสบการณ์ทางการฟัง
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
การวางแผนและการดำเนินงาน
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
ความคาดหวังของผู้เข้าร่วมประชุม
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การสนทนาให้เกิดปัญญา
การสื่อสารเพื่อการบริการ
การสัมภาษณ์ และการให้คำปรึกษา
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
การทำงานอย่างมีความสุข
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 5.
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 8.
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 5.
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
หนังสือเล่มแรก Bookstart
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
อย่าด่วนเชื่อ โดยฟังตามๆกันมา
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
Communities of Practice (CoP)
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
การบริการ คืออะไร ? คือ การสื่อสารอย่างครบวงจร สื่อจาก ท่าทาง
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
การสร้างวินัยเชิงบวก
รศ.ชัยยศ สันติวงษ์ ครั้งที่ 4 วันที่ 17 มิถุนายน 2554
ภาระหน้าที่ของFacilitator
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
เห็นภาพนี้หมุนทวนเข็ม หรือ ตามเข็มนาฬิกา
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
กระบวนการวิจัย Process of Research
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน นางพัทธนันท์
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ข้อมูล
การฟังเพลง.
บทบาทสมมติ (Role Playing)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
เทคนิคการให้คำปรึกษา
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ไดอะล็อค : สุนทรียสนทนา D-I-A-L-O-G-U-E ไดอะล็อค : สุนทรียสนทนา การสนทนาอย่างมีสมาธิ

ไดอะล็อค สนทนาที่เป็นการพูดคุยกันภายในกลุ่มเพื่อสร้างความรู้ กระบวนการเชื่อมโยงความคิดที่กระจายอยู่ ให้เกดพลัง สำรวจเข้าไปในความคิด ความรู้สึก ความเชื่อ เปิดรับความรู้สึกของทุกคน

แก่นแท้ของสุนทรียสนทนา ละวางภาพลักษณ์ อำนาจ การรอบงำ ตระหนักต่อจุดยืนอื่น-ต่อการเข้าถึงได้ไม่หมด Deep listening ฟังอย่างลึกซึ้ง นอก/ใน Respecting เคารพ ปันพื้นที่สำหรับมุมมองที่หลากหลาย ไม่ก้าวก่ายการปกป้องความแม่นยำและเหมาะสม สมดุล/ ผ่อนคลาย Suspending ทดแขวนการตรวจสอบสมมุติฐาน ชะลอสิ่งที่ตัดสินใจไว้แล้วล่วงหน้า เพื่อมองหาข้อมูลจากหลายมุม Voicing เปิดเผยเสียงภายใน ปิ้งฉับพลัน เท่าทันกรอบความคิดที่เชื่อว่าจริง ความรู้สึก ความคิด หลากหลาย แสดงตน สมรรถภาพใหม่

กระบวนการไดอะล็อค

สุนทรียสนทนา (Dialogue) เริ่มที่หน่วยงาน และขยายวง กติกา : เปิดใจ รับฟัง ร่วมคิด

กระบวนการกลุ่ม ผู้เข้าร่วม ไม่จำกัดจำนวน ผู้เข้าร่วม ไม่จำกัดจำนวน หัวข้อ เรื่องใดก็ได้ที่อยู่ในความสนใจ ระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 2 ชม. กติกา - ไม่พูดแซง - ไม่ผูกขาด - ควรเว้นช่วง - ไม่เริ่มโดยมีจุดมุ่งหมายหรือข้อสรุป

ฟังอย่างไรจะได้ยิน ?

สังคมไทยเป็นแบบไหน ? พูด > ฟัง ฟัง > พูด ไม่ฟังใคร พูด > ฟัง ฟัง > พูด ไม่ฟังใคร ฟังแล้วตีความหมายผิด

ฟังบ้างไม่ฟังบ้าง ฟังเงียบๆไม่มีปฏิกิริยาใด ประเภทของผู้ฟัง ฟังบ้างไม่ฟังบ้าง ฟังเงียบๆไม่มีปฏิกิริยาใด ฟังตลอด แต่ไม่ยินดียินร้ายกับอารมณ์ที่มาเร้า ฟังอย่างตั้งอกตั้งใจปราศจากอคติ

ภายนอก VS ภายในตัวผู้ฟัง “อุปสรรคการฟัง” ภายนอก VS ภายในตัวผู้ฟัง

ทฤษฎีตัว U ของ Otto Scharmer กิเลส (1) รับรู้ พูดเปรี้ยง ทำเปรี้ยง (2)แขวนไว้ก่อน พูดและทำด้วยปัญญา พิจารณา อย่างสงบ มีสติ ปัญญา อดีต – ปัจจุบัน - อนาคต

อุปสรรคภายนอกของการฟัง ผู้พูด ผู้ร่วมฟัง สิ่งแวดล้อม

อุปสรรคภายในของการฟัง ใจลอย ฝันกลางวัน คิดว่าตนเองเป็น ศูนย์กลางของโลก ความสนใจแคบ ชอบขัดชอบแทรก สนใจรายละเอียดไม่สนใจแก่นของเรื่อง

อุปสรรคภายในของการฟัง เลือกได้ยินเฉพาะสิ่งที่ต้องการได้ยิน อยู่ในท่าที่ไม่เอื้อต่อการฟัง ไม่ฟังสิ่งที่เข้าใจยาก อารมณ์เร้าความรู้สึกจนทำให้การฟังไม่ได้ยิน วิตกจริต

ทัศนคติกับอารมณ์ข่มเสียงพูด ทัศนคติและอารมณ์มีผลต่อประสิทธิภาพ ของการฟัง

การรับรู้และการเข้าถึงจิตใจผู้พูดเป็นการฟัง ในระดับสูงแสดงได้จาก แสดงการรับรู้อย่างแน่ชัด - ความหมายของคำ - ข้อความเป็นรหัส 2. การเข้าถึงจิตใจของผู้พูด - แสดงให้ผู้พูดรู้ว่าเราต้องการเข้าถึงจิตใจเขา - สะท้อนความรู้สึกผู้พูดกลับไปให้เขาเห็น - แสดงอากัปกริยา แนวเดียวกับผู้พูด

การแสดงความประสงค์ว่าต้องการเข้าใจผู้พูดอย่างแท้จริง พูดคุยเรื่องที่สำคัญต่อเขา ไม่เปลี่ยนเรื่องพูด ไม่ขัดจังหวะ หากต้องการชัดในประเด็นควรถาม และเจาะลงลึกในรายละเอียด

พัฒนาการฟังจากบันได 6 ต.

บันได 6 ต. 6. ติดตาม 5. ตามค่า 4. ตีความ 3. ตรงตรง 2. ตรวจตรา บันได 6 ต. 6. ติดตาม 5. ตามค่า 4. ตีความ 3. ตรงตรง 2. ตรวจตรา 1. ตระเตรียม

1.ตระเตรียม เตรียมตัวก่อนประชุม - พักผ่อนให้พร้อม - พักผ่อนให้พร้อม - ศึกษาข้อมูลก่อนประชุม - เลือกที่นั่งใกล้ผู้พูด - คาดสถานการณ์ล่วงหน้า - ปิดมือถือ/ไม่รับ Tel เมื่อสนทนา

2. ตรวจตรา - ฟังอย่างถี่ถ้วน “หู ตา จมูก กายใจ” มองผู้พูด สังเกตผู้พูด

- สร้างความรู้สึกว่าเรามีอารมณ์อย่างเดียวกับผู้พูด 3. ตรงตรง - สร้างความรู้สึกว่าเรามีอารมณ์อย่างเดียวกับผู้พูด 4. ตีความ - ถ้าไม่แน่ใจให้ผู้พูดอธิบายเพิ่มเติมในสิ่งที่ไม่แน่ใจ

5. ตามค่า / ประเมินค่าของเรื่องที่ฟัง “คนเรามักด่วนสรุปก่อนที่จะเข้าใจอย่างถ่องแท้”

6. ติดตาม ทำให้เกิดความไว้วางใจและความเชื่อมั่นต้องแสดงให้ได้ว่า เราเก็บความลับได้ ? ผู้พูดสำคัญที่สุด

ฟังแล้วก็ถาม? การฟังที่ดีต้องรู้จักถามไม่ควรนั่งเงียบ!

คำถามประกอบการฟังที่ดี 1. คำถามปลายเปิด What ? How ? Why ?

2. คำถามปลายปิด ใช้เมื่อต้องการข้อมูลเฉพาะเจาะจงและต้องการปิดประเด็น “ใช่หรือไม่”

3. คำถามสรุปทวนความ ใช้เมื่อต้องการตรวจสอบความเข้าใจ 3. คำถามสรุปทวนความ ใช้เมื่อต้องการตรวจสอบความเข้าใจ ดิฉันเข้าใจว่า ... อย่างนี้ใช่ไหมค่ะ ?

4. คำถามสมมติ ใช้ถามเมื่อต้องการความคิดใหม่จากผู้พูด เช่น 4. คำถามสมมติ ใช้ถามเมื่อต้องการความคิดใหม่จากผู้พูด เช่น จะเกิดอะไรขึ้นหากใช้น้ำยาที่เข้มข้น จะเกิดอะไรขึ้นถ้า ......?

5. คำถามตรวจสอบความรู้สึกของผู้พูด 5. คำถามตรวจสอบความรู้สึกของผู้พูด เพื่อหาความหมายที่แฝงมาในคำพูด เช่น คุณคิดอย่างไรกับกระบวนการดูและผู้ป่วยรายนี้