การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award) การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award) 09/09/09
กรอบการนำเสนอ การดำเนินการตัวชี้วัด PMQA ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ช่วงเช้า การดำเนินการตัวชี้วัด PMQA ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แนวทางดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ช่วงบ่าย 4. แนวทางการประเมินผล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 5. การวางแผนการพัฒนาองค์การ 6. การกำหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์
4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ TQM : Framework PMQA Model P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ระบบการบริหารจัดการองค์กรตามเกณฑ์ PMQA การนำองค์กรเชิงยุทธศาสตร์ การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ การเรียนรู้ขององค์กร 7.4 มิติด้าน การพัฒนาองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิด ชอบต่อสังคม 7.3 มิติด้านประสิทธิ ภาพของการปฏิบัติราชการ 6.1 กระบวนการ ที่สร้างคุณค่า 7.2 มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ 2.1 การจัดทำยุทธ ศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อเพื่อนำไปปฎิบัติ 6.2 กระบวนการสนับสนุน 3.2 ความ สัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ 7.1 มิติด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ 5.1 ระบบงาน 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มี่ส่วนได้ส่วนเสีย 5.3 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจแก่บุคลากร 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากรและการสร้างแรงจูงใจ 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.2 การจัดการสารสน เทศและความรู้ 4
วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้ คิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่างๆ เป้าประสงค์ : ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ สามารถพัฒนาขีดสมรรถนะและมีความพร้อม ในการดำเนินงาน ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ ในการปรับปรุงและยกระดับคุณภาพการบริหารงาน ตามแผนพัฒนาองค์การ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โดยเฉลี่ย)
การกำหนดตัวชี้วัด PMQA ปี 2552 มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การ โดยการวัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของ แผนพัฒนาองค์การ (Improvement Plan) ส่งเสริมให้ส่วนราชการมีความเข้าใจ และนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสม มาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์การอย่างต่อเนื่อง มุ่งเน้นให้ส่วนราชการสามารถดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการได้อย่างเป็นระบบ พัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เพื่อเป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือว่าเป็นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กรเบื้องต้นและเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น”
เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA “ รางวัลการพัฒนา องค์การดีเด่น” 100 พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด 80 “รางวัลมุ่งมั้นพัฒนาองค์การดีเด่น หมวด ........” Successful Level 100 ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 90 80 70 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 60 50 40 30 20 10 ร้อยละ ของการ ผ่านเกณฑ์ หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7
Roadmap การพัฒนาองค์การ 2552 2553 2554 1 5 2 กรมด้านบริการ 3 6 4 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 4 3 กรมด้านนโยบาย 2 6 5 เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 1 2 5 จังหวัด 4 3 6 เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 3 2 Successful Level สถาบันอุดมศึกษา 6 5 4 เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
วิธีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แนวทางที่ 1 เป็นการดำเนินการตามแนวทางของกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ซึ่งเป็นภาคบังคับที่ส่วนราชการทุกแห่งจะต้องดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้ได้มาตรฐาน แนวทางที่ 2 เป็นการสมัครขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยมีหลักเกณฑ์และกลไกที่แตกต่างจากกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐที่ผ่านมาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 – 2551 2549 2550 2551 น้ำหนักร้อยละ 5 กำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือก (ส่วนราชการเลือกจำนวน 114 ส่วนราชการ ประกอบด้วย 37 กรม 37 จังหวัด และ 40 มหาวิทยาลัย) วัดการดำเนินการแบบ Milestone มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ น้ำหนักร้อยละ 5 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดการดำเนินการแบบ Milestone มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วิเคราะห์โอกาสในการปรับปรุง สำหรับส่วนราชการที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 จัดทำแผนปรับปรุงองค์กร และดำเนินการปรับปรุงองค์กร น้ำหนักร้อยละ 22 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดผลการประเมินองค์กรในเชิงคุณภาพ มุ่งเน้นการบูรณาการตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรนำมาผนวกเข้ากับตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้มีการประเมินองค์กรตามแนวทางการบริหารจัดการแบบ “ADLI”
กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2552 น้ำหนักร้อยละ 20 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละส่วนราชการมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือเป็นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กรเบื้องต้น และเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น”
ตัวชี้วัดที่ 14 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก ร้อยละ 20) น้ำหนัก (ร้อยละ) 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ แผนที่ 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 1 2 14.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 14.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 6 3 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (2 แผน) 12 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7)
หมวดบังคับและหมวดสมัครใจ ของส่วนราชการระดับกรม ปี 2552 PMQA เป็นตัวชี้วัดบังคับน้ำหนักร้อยละ 20 (จำนวนกรมเท่ากับ 136 กรม + 1 กระทรวง) ดำเนินการปีละ 2 หมวด หมวดบังคับ 1 หมวด คือ กรมนโยบาย : หมวด 2 กรมบริการ : หมวด 3 หมวดสมัครใจจำนวน 1 หมวด หมวดบังคับ 99 กรม หมวดสมัครใจ 27 กรม 1 กรม 8 กรม 2 กรม
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 16
ที่มาของเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)
ปัญหาและอุปสรรคในการใช้เกณฑ์ PMQA ? ไม่รู้จะเริ่มต้นตรงไหน เขียนแล้วแก้ แก้แล้วเขียน ไม่รู้เขียนอย่างไรให้ถูกใจคนอ่าน คนในหน่วยงานมีมาก ไม่สามารถบูรณาการได้ ไม่มีผลลัพธ์และข้อมูลที่จะนำมาตอบ ควรปรับปรุงอะไรก่อน? ระบบงานหรือข้อมูล ไม่รู้จะปรับปรุงอย่างไรให้ดีขึ้น
A C P D
แนวคิดในการพัฒนาเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน มุ่งเน้นให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติมากกว่าการเขียนรายงาน เน้นการวิเคราะห์กระบวนการอย่างเป็นระบบและการสร้างความเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลและตัวชี้วัดที่ส่วนราชการเก็บอยู่ เน้นการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและบูรณาการ เน้นการพัฒนามากกว่าการได้รางวัล
เป้าหมายของPMQA(ใหม่) เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการปฏิบัติงานและส่งมอบ บริการสาธารณะ ซึ่งอาศัยวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ กำหนดแนวทางและวิธีการ การนำไปปฏิบัติและติดตาม ประเมินผล การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปบทเรียน บูรณาการ และ การสร้างนวัตกรรม โดยเฉพาะการเทียบเคียงขีดสมรรถนะ (Benchmarking) กับภาคเอกชน หรือหน่วยงานอื่น ๆ ที่มี ประสิทธิภาพสูงกว่า หรือนำกรณีการปฏิบัติงานที่มีความเป็นเลิศ (Best Practices) มาเป็นแบบอย่าง
1. Continuous improvements 2. Breakthroughs 3. Standardization Continuous improvements Breakthroughs Standardization
ค่าเฉลี่ยผลกราฟการประเมินองค์กรปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ส่วนราชการระดับกรม (ข้อมูล ณ มกราคม 2552) ส่วนราชการระดับกรม
ค่าเฉลี่ยผลกราฟการประเมินองค์กรปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ส่วนราชการระดับจังหวัด (ข้อมูล ณ มกราคม 2552) ส่วนราชการระดับจังหวัด
การเปรียบเทียบกราฟองค์กรของ สกอ. กับค่าเฉลี่ยกลางปีงบประมาณ พ.ศ. 2551
การนำไปใช้ ส่วนราชการประเมินตนเองภายใต้กรอบ Fundamental Level ระบุจุดที่ยังต้องพัฒนา(OFI) จัดทำแผนพัฒนาและปรับปรุงประจำปีให้สอดคล้อง โดยระบุตัวชี้วัดที่เป็นผลลัพธ์ให้ชัดเจน ดำเนินการปรับปรุงตามแผน วัดผลการปรับปรุง
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) ประกอบด้วย 7 หมวด รวม 52 ประเด็น แต่ละประเด็นเป็นการมุ่งเน้นกระบวนการและระบบงานพื้นฐานที่จำเป็นเพื่อตอบสนองประเด็นต่าง ๆ ของ พรฎ.GG ส่วนราชการต้องดำเนินการในแต่ละประเด็นให้ครบในทุกข้อและทุกหมวด
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) “ระดับพื้นฐาน” หมายถึง กระบวนการเริ่มได้ผล มีกระบวนการ/ระบบที่มีประสิทธิภาพและทำอย่างเป็นระบบเพื่อรองรับ กิจกรรมในหัวข้อที่ประเมิน (Approach) กระบวนการ/ระบบ เป็นที่เข้าใจยอมรับ และเริ่มมีบทบาทสนับสนุน กระบวนการ/กิจกรรมในกิจกรรมด้านนี้ (Deployment) องค์กรเริ่มมีการประเมินประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบของกิจกรรมด้านนี้ อาจมีการปรับปรุงให้กระบวนการ/ระบบให้ดีขึ้นบ้าง (Learning) กระบวนการ/ระบบเกี่ยวกับกิจกรรมด้านนี้สอดรับ สนับสนุนกิจกรรมระดับ สำคัญขององค์กรที่ระบุไว้ในภารกิจ/ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ (Integration)
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน โดยสรุป เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน โดยสรุป มีแนวทาง (มีระบบ) มีการนำไปใช้จริง เริ่มเกิดผล มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง มีการพัฒนา มีความก้าวหน้า เริ่มบูรณาการกับระบบงานอื่น ๆ
ปี 2547-2551 ปี 2552 ลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) เกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (7 หมวด 90 คำถาม) เกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) (7 หมวด 52 ประเด็น) ลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม)
OP (15 คำถาม) LD IT SP HR RM CS PM โครงสร้างของเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) OP (15 คำถาม) SP HR HR 1- 5 SP 1-7 RM 1-10 RM LD CS PM CS 1-10 PM 1- 6 LD 1-7 IT IT 1-7
หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวนผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ (4)4 การทบทวนผลดำเนินการ 4.1 การทบทวนผลดำเนินการ 4.2 การนำผลประเมินไปเพื่อดูการบรรลุเป้าหมาย และ เพื่อประเมินการตอบสนองการเปลี่ยนแปลง (5)5 what ตัวชี้วัดสำคัญ 5.1ตัวชี้วัด 5.2ผลการทบทวนที่ผ่านมา (6) การใช้ผลการทบทวนเพื่อจัดลำดับความสำคัญและเพื่อการปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร (7)7 การประเมินผลงานผู้บริหาร 7.1 ประเมินผู้บริหาร 3ระดับชั้นบังคับบัญชา 7.2 การนำผลประเมินไปปรับระบบการนำองค์กร (1)1 ทิศทาง 1.1 วิสัยทัศน์ 1.2 เป้าประสงค์ระยะสั้น/ยาว 1.3 ค่านิยม 1.4 ผลดำเนินงานที่ คาดหวัง (1) 3 การสื่อสารทิศทางองค์กร (2)2 นโยบาย 2.1 กระจายอำนาจ 2.2 นวัตกรรม 2.3 ความคล่องตัว 2.4 การเรียนรู้ขององค์กร 2.5 การเรียนรู้ของบุคคล 2.6 การทำถูกกฏหมาย 2.7 ทำตามหลักจริยธรรม (3)3 การกำกับดูแลตนเองที่ดี 3.1 ด้านการปฏิบัติงาน 3.2 ด้านการเงินป้องกันทุจริต 3.3 ด้านปกป้องประโยชน์ประเทศและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (8)8 การดำเนินการต่องานที่มีผลกระทบทางลบ ต่อสังคม (เกิดเหตุการณ์แล้ว) (9)9 what การจัดการผลกระทบ 9.1กระบวนการ 9.2เป้าประสงค์ 9.3ตัวชี้วัด 9.4(ค่า)เป้าหมายในการจัดการผลกระทบ (10)10 การจัดการผลกระทบทางลบ 10.1 การคาดการณ์ผลกระทบทางลบ (ประเมิน) 10.2 การเตรียมการเชิงรุกต่อผลกระทบ (ป้องกัน) (11)11 การกำหนดวิธีปฏิบัติให้ทำอย่างมีจริยธรรม (ปฏิบัติต่อคนภายนอก) (12)12 การสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ การเลือกชุมชน การเลือกกิจกรรมสนับสนุนชุมชน การมีส่วนร่วมของบุคลากร LD 1 LD 5,6 LD 5,6 LD 4 LD 1 LD 2 LD 6 LD 3 LD 7
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ ก. การจัดทำ ยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ (13)1 การวางแผนยุทธศาสตร์ 1.1 แผน 4 ปี 1.2 แผน 1 ปี ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้อง กรอบเวลาและเหตุผล กิจกรรมที่สอดคล้องกับกรอบเวลา (14)2 การนำปัจจัยมาประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์ 2.1 ปัจจัยภายใน 2.2 ปัจจัยภายนอก ปัจจัยต่างๆ การรวบรวม การวิเคราะห์ (15)3 what ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.1ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 3.2เป้าหมายและระยะเวลา 3.3ลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์ (16)4 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 4.1 แผน 4 ปี 4.2 แผน 1 ปี ดูความท้าทาย ดูความต้องการของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ดูความสมดุลของโอกาสระยะสั้นระยะยาว (17)5 การนำแผนสู่การปฏิบัติ 5.1 วิธีการถ่ายทอด 5.2 การจัดสรรทรัพยากร 5.3 การทำให้ผลมีความยั่งยืน (18)6 แผนปฏิบัติการ 6.1 what แผนปฏิบัติการที่สำคัญ 6.2 แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (บริหารความเสี่ยง : RM) จากการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (19)7 what แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล 7.1 4ปี 7.2 1ปี (20)8 ระบบการวัดผลสำเร็จ 8.1 what ตัวชี้วัดติดตามแผนปฏิบัติการ 8.2การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ เพื่อมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (21)9 what เป้าหมาย 9.1เป้าหมายของตัวชี้วัด 9.2เป้าหมายเปรียบเทียบ SP 4 SP 1 SP 1 SP 7 SP 2 SP 2 การปรับปรุงกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ นำผลการทบทวนการดำเนินงาน ผลจากการประเมิน SP 3 SP 6 SP 5
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความ พึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (25)4 การสร้างความสัมพันธ์เพื่อ สนองความคาดหวัง สร้างความประทับใจ มีภาพลักษณ์ที่ดี มีผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้น (26)5 การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการ 5.1การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้เสีย สามารถติดต่อ ขอข้อมูล ขอรับบริการ ขอร้องเรียน 5.2การกำหนดวิธีปฏิบัติของบุคลากร ระบบติดตามการปฏิบัติ (27)6 การจัดการข้อร้องเรียน กระบวนการจัดการ วิธีการแก้ไขที่ทันท่วงที รวบรวมและวิเคราะห์นำไปเพื่อการปรับปรุง (28)7 การทบทวนปรับปรุงการสร้างความสัมพันธ์ ให้เหมาะสม ทันสมัย (29)8 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ 8.1การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้สวนเสีย 8.2การนำข้อมูลไปใช้เพื่อ สร้างความประทับใจ ทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี ปรับปรุงการทำงาน (30)9 การติดตามเรื่องคุณภาพบริการ ให้ได้ข้อมูลป้อนกลับทันท่วงที นำไปใช้ต่อได้ (31)10 การเปรียบเทียบข้อมูลความพึงพอใจ (32)11 การทบทวนปรับปรุงการวัดความพึงพอใจ ให้เหมาะสม ทันสมัย (22)1 การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประเภท/กลุ่ม การคำนึงถึงผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต (23)2 การรับฟังและเรียนรู้ 2.1 การรับฟังและเรียนรู้ความต้องการความคาดหวัง 2.2 การนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนปฏิบัติปรับปรุง (24)3 การทบทวนปรับปรุงการรับฟังและเรียนรู้ ให้เหมาะสม ทันสมัย CS1 CS5 CS 6 CS2 CS7 CS8 CS9 CS10 CS3 CS4 35
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูล และสารสนเทศ ข. การจัดการความรู้ (41)9 การจัดการความรู้ (KM) รวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรในองค์กร รวบรวมถ่ายทอดจากคนอื่น แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (42)10 การจัดการให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ให้มีคุณสมบัติที่ดี รวมทั้งสิ้น11ประการ ความครอบคลุม ความถูกต้อง ความทันสมัย ความรวดเร็ว ความเชื่อมโยง ความน่าเชื่อถือ ความสามารถในการเข้าถึง ความสามารถในการตรวจสอบ การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล ความปลอดภัย การรักษาความลับ (33)1 การเลือกและใช้ข้อมูล 1.1การเลือกรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ที่สอดคล้องเชื่อมโยง เพื่อติดตามผลดำเนินงานองค์กร 1.2การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อ สนับสนุนการตัดสินใจ สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม (34)2 การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบเพื่อ (35)3 การปรับปรุงระบบการวัดผล 3.1 การทบทวนปรับปรุงระบบการวัดผล ให้เหมาะสม ทันสมัย 3.2 การจัดระบบการวัดผลให้ไวต่อการบ่งชี้ จากการเปลี่ยนแปลงภายใน จากการเปลี่ยนแปลงภายนอก (36)4 what ประเด็นที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ผู้บริหาร ทบทวนผลดำเนินงาน วางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (37)5 การสื่อสารผลวิเคราะห์ให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (38)6 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ (IT) ให้พร้อมใช้งาน ผู้เกี่ยวข้องเข้าถึงได้ (39)7 การจัดการระบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ ปลอดภัย ให้เชื่อถือได้ ใช้งานง่าย (40)8 การทบทวนปรับปรุงระบบสารสนเทศและอุปกรณ์ ให้เหมาะสม ทันสมัย IT 7 IT 4 IT 1 - 3 IT 5,6 IT 1
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ ก. การจัดและบริหารงาน ข. ระบบการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (43)1 การจัดการระบบงาน 1.1 ระบบที่เป็นทางการ 1.2 ระบบไม่เป็นทางการ เพื่อเกิดความร่วมมือ เพื่อความคล่องตัว เพื่อการกระจายอำนาจ เพื่อสร้างความคิดริเริ่ม เพื่อกระตุ้นนวัตกรรม เพื่อให้ทันความต้องการอยู่เสมอ (44)2 การนำวัฒนธรรมและความคิดของบุคลากร และชุมชนมาใช้จัดระบบงาน (45)3 การจัดระบบสื่อสารภายในองค์กร ให้มีประสิทธิผล (51)9 การพัฒนาบุคลากร เพื่อให้ทำงานได้ตามแผนปฏิบัติการและบรรลุผล เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างเป้าประสงค์กับความต้องการของ บุคลากร (52)10 การให้การศึกษาและฝึกอบรม ให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญ การอบรมบุคลากรใหม่ จริยธรรม การบริหารจัดการ การพัฒนาภาวะผู้นำ ความปลอดภัยอาชีวอนามัยสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ความต้องการอื่นๆที่สำคัญ (53)11 การบริหารการฝึกอบรม 11.1การหาความต้องการการฝึกอบรม 11.2การนำความต้องการการอบรมมาพัฒนาบุคลากร 11.3การนำความรู้ในองค์กรมาพัฒนาบุคลากร (54)12 การพัฒนาบุคลากร 12.1แบบเป็นทางการ 12.2แบบไม่เป็นทางการ (47)5 การกำหนดคุณลักษณะและทักษะบุคลากร สมรรถนะหลัก สมรรถนะประจำสายงาน สมรรถนะแต่ละกลุ่มตำแหน่ง (48)6 การสรรหาว่าจ้าง รักษาบุคลากร 6.1 การสรรหาว่าจ้าง 6.2 การรักษาบุคลากร ด้วยการคำนึงถึงวัฒนธรรมความคิดของบุคลากรและชุมชน (49)7 การเตรียมบุคลากรและความก้าวหน้าในงาน 7.1 การเตรียมบุคลากรในตำแหน่งสำคัญ 7.2 การสร้างความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (50)8 การพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นให้มีโอกาสก้าวหน้า (55)13 การส่งเสริมให้นำความรู้และทักษะจากการอบรม มาใช้ในการปฏิบัติงาน (56)14 การประเมินประสิทธิผลของการศึกษาอบรม 14.1 ผลระดับบุคคล 14.2 ผลระดับองค์กร (57)15 การทำให้บุคลากรพัฒนาตนเอง เพื่อความก้าวหน้าในงาน 15.1 การช่วยเหลือองค์กร 15.2 การช่วยเหลือของหัวหน้างาน HR 3 (46)4 ระบบประเมินผลและการยกย่องชมเชย (Individual Scorecard) 4.1การจัดระบบประเมินผลการปฏิบัติงานรวมถึงการแจ้งผลเพื่อให้พัฒนาและปรับปรุงงาน 4.2การจัดระบบการยกย่องชมเชยจูงใจ เพื่อให้มีขวัญกำลังใจ เพื่อให้ทำงานมีประสิทธิผล เพื่อให้มีจิตสำนึกที่เน้นประโยชน์ของผู้รับบริการ HR 3 HR 3 HR 2 HR 4 HR 5 HR 3
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.3 ความผาสุกและความ พึงพอใจของบุคลากร ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจ แก่บุคลากร (58)16 การจัดระบบสภาพแวดล้อมการทำงาน ถูกสุขอนามัย ความปลอดภัย การป้องกันภัย อุปกรณ์ให้มีความเหมาะสมในงาน การกำหนดตัวชี้วัด การมีส่วนร่วมของบุคลากร (59)17 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ (60)18 การกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุกพอใจจูงใจ ของบุคลากรทุกระดับทุกประเภท (61)19 การสนับสนุนด้านนโยบายสวัสดิการการบริการ ให้ตรงความต้องการบุคลากรทุกระดับทุกประเภท (62)20 การประเมินความผาสุก ความพึงพอใจ แรงจูงใจของบุคลากร 20.1การประเมินความผาสุก ความพึงพอใจ แรงจูงใจบุคลากร ทุกระดับทุกประเภทของบุคลากร เป็นทางการ ไม่เป็นทางการ 20.2การกำหนดและใช้ตัวชี้วัดประเมินความพอใจ (63)21 การเชื่อมโยงผลประเมินความพอใจกับผลลัพธ์องค์กร เพื่อจัดลำดับการปรับปรุงความพอใจบรรยากาศและสภาพแวดล้อม HR 1 HR 1 HR 1 HR 1
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน (64)1 กระบวนการสร้างคุณค่า 1.1 การกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า 1.2 what กระบวนการสร้างคุณค่าที่สำคัญ (65)2 การจัดทำข้อกำหนด 2.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า จากข้อมูลผู้รับบริการ จากข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (66)3 การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า จากข้อมูลทั้ง4 ประเด็น รวมถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องบูรณาการกับหน่วยงานอื่น (67)4 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 4.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 4.2การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (68)5 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด 5.1การลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบทดสอบประเมินกระบวนการ 5.2การป้องกันข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำความสูญเสีย (69)6 การปรับปรุงกระบวนการ 6.1การปรับปรุงกระบวนการให้ได้ผลดีขึ้น 6.2การเผยแพร่แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับปรุง ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน PM1 (70)7 กระบวนการสนับสนุน 7.1 การกำหนดกระบวนการสนับสนุน 7.2 what กระบวนการสนับสนุนที่สำคัญ (71)8 การจัดทำข้อกำหนด 8.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสนับสนุน จากข้อมูลผู้รับบริการ จากข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 8.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (72)9 การออกแบบกระบวนการสนับสนุน จากข้อมูลทั้ง4 ประเด็น รวมถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องบูรณาการกับหน่วยงานอื่น (73)10 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 10.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 10.2การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (74)11 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด 11.1การลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบทดสอบประเมินกระบวนการ 11.2การป้องกันข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำความสูญเสีย (75)12 การปรับปรุงกระบวนการ 12.1การปรับปรุงกระบวนการให้ได้ผลดีขึ้น 12.2การเผยแพร่แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับปรุง ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน PM2 PM3 PM4,5 PM4,5 PM6 PM6
ส่วนที่ 1 เกณฑ์ Fundamental Level ส่วนที่ 2 คำอธิบายแนวทางดำเนินการ ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์การพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อให้ผ่านเกณฑ์ Fundamental Level
ตัวอย่างการประเมินตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เกณฑ์ หมวด 6 PM 4 ส่วนราชการต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการจัดการกระบวนการ เพื่อให้ส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง คำอธิบาย ส่วนราชการมีวิธีการเพื่อทำให้มั่นใจว่าระบบงานและสถานที่ทำงานมีการเตรียมพร้อมต่อภัยพิบัติ หรือ ภาวะฉุกเฉิน และระบบการเตรียมความพร้อมต่อภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉิน ซึ่งได้คำนึงถึงการป้องกัน การจัดการความต่อเนื่องของการดำเนินการ และการทำให้คืนสู่สภาพเดิม ภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉินอาจเกี่ยวข้องกับสภาพอากาศ สาธารณูปโภค ความปลอดภัย การจราจล หรือ เกิดจากภาวะฉุกเฉินในระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติ วิธีการประเมิน ผ่าน / ไม่ผ่าน – จะผ่านต่อเมื่อทำครบทุก bullet A - แสดงแผนสำรองฉุกเฉิน เพื่อป้องกับผลกระทบกับการจัดการกระบวนการ ในกรณีที่เกิดภาวะฉุกเฉิน D - สื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในแผนสำรองฉุกเฉินรับทราบถึงแนวทางปฏิบัติ L - มีการทบทวนเพื่อปรับปรุงแผนสำรองฉุกเฉินให้เหมาะสมทันสมัยอยู่เสมอ I - แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่อการดำเนินการ ตามพันธกิจหลักของส่วนราชการว่าจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 1 การนำองค์การ รหัส แนวทางการดำเนินการ การนำองค์การ LD1 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ครอบคลุมในเรื่องวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์หรือผลการดำเนินการที่คาดหวังขององค์การ โดยมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งมีการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดทิศทางดังกล่าวสู่บุคลากร เพื่อให้เกิดการรับรู้ ความเข้าใจ และการนำไปปฏิบัติของบุคลากร อันจะส่งผลให้การดำเนินการบรรลุผลตามเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8) LD 2 ผู้บริหารส่วนราชการมีการเพิ่มอำนาจในการตัดสินใจ(empowerment) ให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ ภายในองค์การ โดยมีการมอบอำนาจให้กับผู้ดำรงตำแหน่งอื่นในส่วนราชการเดียวกัน หรือในส่วนราชการอื่นๆ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 27) LD 3 ผู้บริหารของส่วนราชการส่งเสริมให้มีกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการบูรณาการและสร้างความผูกพัน ร่วมมือภายในองค์การ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 11) LD 4 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ และกำหนดให้มีระบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ สำหรับใช้ในการทบทวนผลการปฏิบัติงานและนำผลการทบทวนดังกล่าวมาจัดลำดับความสำคัญ เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานของส่วนราชการให้ดีขึ้น (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8) 42
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 1 การนำองค์การ รหัส แนวทางการดำเนินการ ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม LD 5 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดนโยบายในการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance) เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานของส่วนราชการ และเพื่อให้การดำเนินการบรรลุผล ส่วนราชการต้องจัดทำแนวทางปฏิบัติ มาตรการ/โครงการรองรับนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดีดังกล่าว (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8 (2)) LD 6 ส่วนราชการต้องจัดให้มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่ดี รวมถึง พัฒนาระบบตรวจสอบภายในให้เป็นไป ตามแนวทางของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8 (2)) LD 7 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดให้มีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม อันเป็นผลมาจากการดำเนินการของส่วนราชการ รวมทั้งต้องนำวิธีการหรือมาตรการที่กำหนดไว้ไปปฏิบัติ(พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8(3)) 43
หมวด 1 การนำองค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม หมวด 1 การนำองค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม วิสัยทัศน์ กำหนดทิศทางองค์กร เป้าประสงค์ ทำงานอย่างมีจริยธรรม LD 1 LD 5,6 ค่านิยม Stakeholder โดยยึด หลักโปร่งใส 2 ways แต่ละกลุ่ม OP 3,8 LD 6 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ ผลการดำเนินการที่คาดหวัง นโยบายกำกับดูแลองค์การที่ดี LD 1 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ สร้างบรรยากาศ ติดตามผล LD 2 LD 3 การทำงานมีผลกระทบ ต่อสังคม ผ่านกลไกการกำกับดูแลตนเองที่ดี (OP 6) เป็นตัวอย่างที่ดี (role model) LD 7 LD 3 ประเมินความสำเร็จการบรรลุเป้าประสงค์ เชิงรับ- แก้ไข ตัวชี้วัด (5) (หมวด 4.1) ทบทวนผลการดำเนินการ หมวด 2 เชิงรุก คาดการณ์ ป้องกัน LD 4 ประเมินความสามารถ การตอบสนองการเปลี่ยนแปลง จัดลำดับความสำคัญ LD 4 ปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร LD 4
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ รหัส แนวทางการดำเนินการ การวางยุทธศาสตร์ SP1 ส่วนราชการต้องมีการกำหนดขั้นตอน กรอบเวลาที่เหมาะสม รวมถึงมีการระบุผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจนในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยมุ่งเน้นที่จะผลักดันให้บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจของ ส่วนราชการ บรรลุเป้าหมายตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและกลุ่มภารกิจ(พ.ร.ฎ.GG มาตรา 9,16) SP2 ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ (4 ปี และ 1 ปี) ต้องมีการนำปัจจัยทั้งภายในและภายนอกที่สำคัญและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป มาใช้ประกอบการวิเคราะห์ อย่างน้อยประกอบด้วย วิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา กฎหมาย ระเบียบ และโครงสร้างส่วนราชการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8(3)) SP3 ส่วนราชการต้องมีการวางแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี ของส่วนราชการ รวมทั้งต้องการวางแผนเตรียมการจัดสรรทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อรองรับการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 16) 45
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ รหัส แนวทางการดำเนินการ การสื่อสารและถ่ายทอดยุทธศาสตร์เพื่อนำไปปฏิบัติ SP4 ผู้บริหารมีการสื่อสารและทำความเข้าใจในเรื่องยุทธศาสตร์และการนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ ไปยังบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อให้บุคลากรได้รับรู้เข้าใจ และนำไปปฏิบัติ เพื่อให้การถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติดังกล่าวบรรลุผล (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 16) SP5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(ทุกหน่วยงาน) และระดับบุคคลอย่างน้อย 1 สำนัก/กอง รวมทั้ง มีการจัดทำข้อตกลงการปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน เพื่อให้สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันกับเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 12) SP6 ส่วนราชการต้องจัดทำรายละเอียดโครงการเพื่อใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานให้สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการได้สำเร็จ ซึ่งประกอบด้วย ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ การจัดสรรทรัพยากรให้แก่แผนงานโครงการ/กิจกรรม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 20) SP7 ส่วนราชการต้องมีการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อเตรียมการรองรับสภาวะการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ซึ่งต้องครอบคลุมถึงความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านกระบวนการ 46
หมวด 2 ทิศทางองค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม หมวด 2 ทิศทางองค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม ภายนอก วางแผนยุทธศาสตร์ ปัจจัย (9 ตัว) โอกาส/ความท้าทาย (OP) ระยะสั้น ยาว SP 1 ภายใน การวางแผนยุทธศาสตร์ ผู้รับบริการ/IT/คู่เทียบ/บุคลากร/จุดแข็ง จุดอ่อน/การปรับเปลี่ยนทรัพยากร ประเด็นยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์/กลยุทธ์หลัก Stakeholder (OP) SP 2 SP 1 ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ (Strategy Map) SP 5 การคาดการณ์ - ผลปีที่ผ่านมา สื่อสาร สร้างความเข้าใจ SP 4 การบริหารความเสี่ยง การสื่อสารและถ่ายทอดยุทธศาสตร์ SP 7 แผนปฏิบัติการ ตัวชี้วัด ใช้ติดตาม เป้าหมาย ความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ - ความเสี่ยงด้านกระบวนการ SP 3 แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล SP 3 จัดสรรทรัพยากร SP 6 นำไปปฏิบัติ SP 6
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รหัส แนวทางการดำเนินการ ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS1 ส่วนราชการมีการกำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามพันธกิจ เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ครอบคลุมทุกกลุ่ม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8) CS2 ส่วนราชการมีช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงและเสนอรูปแบบการบริการต่าง ๆ โดยแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของช่องทางการสื่อสารดังกล่าว (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 38,40) การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS3 ส่วนราชการมีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนในการรวบรวมข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น/ คำชมเชย ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งมีระบบการจัดการข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น/ คำชมเชย เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถตอบสนองต่อผู้รับบริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียได้อย่างทันท่วงที (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8,39,41) CS4 ส่วนราชการได้นำข้อร้องเรียน /ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น/ คำชมเชย ใน CS 3 มาวิเคราะห์เพื่อกำหนดวิธีการและปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและหรือการปฏิบัติงานให้เหมาะสม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8,39,41) CS5 ส่วนราชการมีการสร้างเครือข่ายและจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 30,31,38-41) 48
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รหัส แนวทางการดำเนินการ การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS6 ส่วนราชการต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมผ่านกิจกรรมต่างๆอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะ และร่วมติดตามประเมินผลการบริหารจัดการของส่วนราชการ โดยการให้ข้อมูลข่าวสาร แก่ประชาชน (Inform) ให้โอกาสร่วมแสดงความคิดเห็น (Consult) มีการดำเนินการร่วมกัน(Collaborate) ร่วมกันติดตามตรวจสอบ (Involve) รวมทั้งให้การเสริมอำนาจ (Empower) แก่ประชาชน (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 30,31,38-41) CS7 ส่วนราชการมีการวัดความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละกลุ่มตามที่ได้กำหนดไว้ เพื่อนำผลไปปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 38,41-42) CS8 ส่วนราชการมีการวัดความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละกลุ่มตามที่ได้กำหนดไว้ เพื่อนำผลไปปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 38,41-42) CS9 ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐาน คู่มือ แนวทางการปฏิบัติของบุคลากรในการให้บริการ ระยะเวลาแล้วเสร็จของงานบริการในแต่ละงาน โดยมีการจัดทำแผนภูมิหรือคู่มือการติดต่อราชการโดยประกาศให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจในการรับบริการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 38,41) CS10 ส่วนราชการต้องกำหนดวิธีการติดตามคุณภาพการให้บริการเพื่อนำมาวิเคราะห์และปรับปรุงการบริการให้สามารถสนองตอบความต้องการได้อย่างเหมาะสม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8,45) 49
หมวด 3 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ หมวด 3 แบ่งกลุ่มผู้รับบริการ ผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต สอดคล้องตาม OP (8) CS1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ หาเครื่องมือที่เหมาะสม แต่ละกลุ่ม CS2 รับฟังความต้องการ/ความคาดหวัง วางแผนปฏิบัติงาน (หมวด 2) ปรับปรุงกระบวนการ (หมวด 6) หาความต้องการร่วมของแต่ละกลุ่ม (Common Need) CS 6 พัฒนาบริการ (หมวด 6) - ขอข้อมูล - ขอรับบริการ - ร้องเรียน - กิจกรรม การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ ออกแบบกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี CS5 CS9 CS3 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ / กำหนดวิธีปฏิบัติ กระบวนการจัดการ ข้อร้องเรียน ติดตามคุณภาพบริการ CS10 วัดความพึงพอใจ/ไม่พึงพอใจ CS7 CS8 CS4 ปรับปรุงกระบวนการ (หมวด 6)
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ รหัส แนวทางการดำเนินการ การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ IT1 ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ รวมทั้งผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ที่ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 9 (3)) การจัดการ สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และความรู้ IT2 ส่วนราชการทบทวนฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ที่จัดทำไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 และต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่าเพิ่มเติม อย่างน้อย 2 กระบวนการ IT3 ส่วนราชการต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน อย่างน้อย 2 กระบวนการ IT4 ส่วนราชการต้องมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 39)) IT5 ส่วนราชการต้องมีระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย (Warning System) เช่น การกำหนดระบบการเตือนภัยแบบสัญญาณไฟจราจร การจัดตั้งห้องปฏิบัติการ (Operation Room, Management Cockpit, War Room) ที่บ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น IT6 ส่วนราชการต้องมีระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ IT7 ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 11) 51
สื่อสารผล การวิเคราะห์ การจัดการสารสนเทศ IT และความรู้ หมวด 4 ระบบการวัด ติดตามผลการปฏิบัติงาน (หมวด 6) Daily Management - leading/lagging indicator ข้อมูลเปรียบเทียบ ผลการดำเนินการโดยรวม (หมวด 2/7) เลือกข้อมูลสารสนเทศ IT 1 - 3 นวัตกรรม (หมวด 2/6) รวบรวม ทบทวนผลการดำเนินการ (หมวด 1) การวัด การวิเคราะห์ วิเคราะห์ผล วางแผนยุทธศาสตร์ (หมวด 2) สื่อสารผล การวิเคราะห์ สอดคล้องตาม OP (4) วางระบบการจัดการ - ข้อมูลสารสนเทศ - อุปกรณ์สารสนเทศ - ความพร้อมใช้งาน - การเข้าถึง - เชื่อถือได้ - ปลอดภัย - ใช้งานง่าย IT 4 IT 5,6 สอดคล้องตาม OP (15) IT 7 การจัดการสารสนเทศ IT และความรู้ การจัดการความรู้ ความรู้ บุคลากร ข้อมูลสารสนเทศ ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย IT 1 รวบรวม ผู้รับบริการ/องค์กรอื่น จัดให้เป็นระบบ Best Practices ถ่ายทอด/Sharing
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล รหัส แนวทางการดำเนินการ การสร้างบรรยากาศการทำงาน ความผาสุกและความพึงพอใจแก่บุคลากร เพื่อก่อให้เกิดความผูกพันต่อองค์กร HR 1 ส่วนราชการต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์และปรับปรุงปัจจัย ดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ HR 2 ส่วนราชการมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผล และเป็นธรรม รวมทั้งมีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงาน ให้ดีขึ้น (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 47) การพัฒนาบุคลากรและภาวะผู้นำ HR 3 ส่วนราชการต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 47) HR 4 ส่วนราชการต้องมีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 20) HR 5 ส่วนราชการมีแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานให้แก่บุคลากร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากร
หมวด 5 ความผาสุก การพัฒนาบุคลากร และภาวะผู้นำ สภาพแวดล้อมการทำงาน ความพึงพอใจ HR 1 หาปัจจัย สถานที่ อุปกรณ์การทำงาน - ตัวชี้วัด/เป้าหมาย - การมีส่วนร่วม เตรียมพร้อมภาวะฉุกเฉิน กำหนดตัวชี้วัด/วิธีการประเมิน ความผาสุก สร้างแรงจูงใจ/จัดระบบสวัสดิการ ระบบยกย่อง/จูงใจ ระบบประเมินผล HR 2 ประเมินผล กำหนดคุณลักษณะและทักษะที่จำเป็น HR 3 จัดลำดับความสำคัญ สอดคล้อง กับผลลัพธ์องค์กร สร้างความก้าวหน้าในการทำงานให้ชัดเจน HR 5 ปรับปรุง ความจำเป็น (Training Need) ความต้องการในการฝึกอบรม พัฒนาบุคลากร ทางการ/ไม่ทางการ บุคลากร ทำงานตามแผนปฏิบัติงาน (หมวด 2) หน.งาน/ผู้บังคับบัญชา HR 3 องค์กร สมดุลทั้งความต้องการองค์กรและความต้องการบุคลากร (หมวด 5.1) ความรู้ในองค์กร (หมวด 4.2) ส่งเสริมนำไปปฏิบัติ การพัฒนาบุคลากร และภาวะผู้นำ HR 4 ประเมินผลประสิทธิผลการฝึกอบรม - ผลการปฏิบัติงานของบุคคล - ผลการดำเนินงานขององค์กร
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ รหัส แนวทางการดำเนินการ การออกแบบกระบวนการ PM 1 ส่วนราชการต้องกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากยุทธศาสตร์ พันธกิจ และความต้องการของ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของส่วนราชการ PM 2 ส่วนราชการต้องจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากความต้องการของ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย และข้อกำหนดที่สำคัญที่ช่วยวัดผลการ ดำเนินงาน และ/หรือปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า PM 3 ส่วนราชการต้องออกแบบกระบวนการจากข้อกำหนดที่สำคัญใน PM 2 และนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่ สำคัญ มาประกอบการออกแบบกระบวนการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและปรับปรุง กระบวนอย่างต่อเนื่อง (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 20,27-29) PM 4 ส่วนราชการต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการจัดการ กระบวนการ เพื่อให้ส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง การจัดการและปรับปรุงกระบวนการ PM 5 ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน ของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการ สนับสนุนโดยมีวิธีการในการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานดังกล่าวให้บุคลากรนำไปปฏิบัติ เพื่อให้ บรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 27,28) PM 6 ส่วนราชการต้องมีการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน เพื่อให้ผลการ ดำเนินการดีขึ้นและป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำ และความสูญเสียจากผลการ ดำเนินการ
การจัดการกระบวนการ สู่การปฏิบัติ หมวด 6 กำหนดกระบวนการ การออกแบบกระบวนการ PM 1 ความต้องการผู้รับบริการ (หมวด 3) ข้อกำหนดที่สำคัญ กฎหมาย กฎ ระเบียบ (OP) PM 2 องค์ความรู้/IT ความต้องการผู้รับบริการ ออกแบบ กระบวนการ ระยะเวลา/ค่าใช้จ่าย/ผลิตภาพ PM 3 เป้าหมายภารกิจ กำหนดตัวชี้วัดควบคุมกระบวนการ การจัดการกระบวนการ สู่การปฏิบัติ การจัดการกระบวนการ ลดค่าใช้จ่ายใน การตรวจสอบ ป้องกัน ความผิดพลาด PM 4 PM 5 ปรับปรุงกระบวนการ สอดคล้องตาม OP PM6 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ PM6 นวัตกรรม
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 มิติด้านประสิทธิผล RM 1 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของแผนปฏิบัติการที่ส่วนราชการดำเนินการได้สำเร็จตามเป้าหมาย 60 65 70 75 80 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ RM 2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ 85 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ RM 3 ร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการที่สร้างคุณค่า (จำนวน 2 กระบวนการที่ได้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานในปี งปม. 2551 หลักฐานที่ 39) RM 4 ร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการสนับสนุน (จำนวน 2 กระบวนการที่ได้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานในปี งปม. 2551 หลักฐานที่ 40) RM 5 กรณีส่วนราชการที่มีงบลงทุน - ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน กรณีส่วนราชการไม่มีงบลงทุน - ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายในภาพรวม 68 92 71 93 74 94 77 95 96 RM 6 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 มิติด้านการพัฒนาองค์กร RM 7 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร หรือแผนพัฒนาบุคลากร 60 65 70 75 80 RM 8 8.1 ร้อยละของความครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัยของฐานข้อมูล ที่สนับสนุนยุทธศาสตร์อย่างน้อย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ 8.2 ร้อยละของข้อมูลสถิติสำคัญของหน่วยงาน ที่นำเข้าระบบ บูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐ(statXchange) โดยหน่วยงาน เจ้าของข้อมูลและสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.)และหน่วยงาน ได้มีการปรับปรุงให้มีความครบถ้วน และถูกต้อง เพื่อแลกเปลี่ยน และใช้ประโยชน์ร่วมกัน (Interoperability) RM 9 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ 90 100 RM 10 ร้อยละความสำเร็จของโครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การ ที่ดีอย่างน้อยด้านละ 1 โครงการ
บทเรียน : Risk Management ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551
บทเรียน : Risk Management ไม่ได้กำหนดหลักเกณฑ์การประเมิน หรือกำหนดแต่นิยาม ไม่สามารถใช้ประเมิน ความเสี่ยงได้ชัดเจน เป็นการประเมินตามความรู้สึก ปัจจัยเสี่ยงที่ระบุ ไม่ใช่ปัจจัยเสี่ยง แต่เป็นข้อเสนอแนะหรือระบุตัวโครงการ เป็นความเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง ไม่ได้จำแนกระหว่างปัจจัยเสี่ยงที่ควบคุมหรือบริหารจัดการได้และไม่ได้ นำผลการวิเคราะห์ของกิจกรรมการควบคุมภายในมารายงานผลเป็นการ วิเคราะห์และจัดการความเสี่ยง ซึ่งไม่ครอบคลุมความเสี่ยงทั้งหมด พยายามประเมินความเสี่ยงให้ต่ำ เพราะถ้าประเมินสูงมากจะเป็นภาระในการ จัดทำแผน
บทเรียน : Risk Management กำหนดมาตรการ กิจกรรม หรือแผนบริหารความเสี่ยง ไม่สอดคล้องกับผลการ วิเคราะห์ความเสี่ยง โดยไม่ส่งผลต่อการลดโอกาสและ/หรือผลกระทบ เป็นต้น แผนงาน/มาตรการบริหารความเสี่ยงไม่ชัดเจน กำหนดไว้เป็นมาตรการกว้าง ๆ ไม่มีกิจกรรมรองรับ จัดทำแผนงาน/มาตรการจัดการความเสี่ยง หลังจากที่ดำเนินการตามกิจกรรม ต่าง ๆ แล้วเสร็จไปแล้ว หรือแผนได้รับความเห็นชอบภายหลังจาก ดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ตามแผนไปแล้ว จัดทำแผนงาน/มาตรการบริหารความเสี่ยงแล้วเสร็จใกล้สิ้นปีงบประมาณ (เดือน ส.ค. และ ก.ย. เป็นต้น) แต่รายงานสรุปผลว่าดำเนินการตามแผนฯ ได้แล้วเสร็จโดยมีระดับความเสี่ยงลดลง ซึ่งเป็นการดำเนินการตามแบบฟอร์ม หรือหลักการจัดการความเสี่ยง แต่ไม่สะท้อนการมีการบริหารจัดการความเสี่ยง ที่เป็นระบบหรือการใช้ประโยชน์จากการบริหารจัดการความเสี่ยงได้อย่างแท้จริง
บทเรียน : Risk Management ไม่มีแผนปฏิบัติการหรือกิจกรรมในการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ บริหารความเสี่ยง ส่วนราชการมักจะนำรายงานผลการจัด Workshop เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงและ จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงมารายงานเป็นผลการดำเนินงาน ไม่ได้สื่อสาร ให้บุคลากรทุกระดับและทุกหน่วยงานในสังกัดมีความเข้าใจด้านการบริหาร ความเสี่ยง ไม่ได้สรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง หรือสรุปแต่ไม่ได้ ประเมินความเสี่ยงที่เหลืออยู่หรือไม่ได้ประเมินผลลัพธ์ของการจัดการความเสี่ยง ไม่ให้ข้อเสนอแนะสำหรับการดำเนินการในปีต่อไป
บทเรียน : Knowledge Management ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551
บทเรียน : KM มีการตั้งเป้าการรวบรวมองค์ความรู้เฉพาะจากภายในองค์กร ไม่ได้พิจารณาถึงการรวบรวมองค์ความรู้จากภายนอกองค์กร หรือไม่เข้าใจว่าการรวบรวมองค์ความรู้จากภายนอกองค์กรคืออะไร จะหาได้ที่ใด จัดทำแผน KM โดยระบุกิจกรรมหลัก 7 ขั้นตอนได้ครบถ้วน แต่กิจกรรมย่อยภายใต้กิจกรรมหลักไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนฯ ในแต่ละขั้นตอนหรือระบุกิจกรรมในขั้นตอนตามแผน KM ไม่ตรงตาม concept ของ KM เช่น ขั้นตอนการบ่งชี้องค์ความรู้ กำหนดกิจกรรม เช่น แต่งตั้งคณะทำงาน KM เป้าหมายคือ ได้คณะทำงาน 1 ชุด หรือจัดทำแผน KM ตัวชี้วัด คือมีแผน KM เป้าหมาย คือ ได้แผน KM 2 แผน เป็นต้น
บทเรียน : KM ไม่ได้กำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายในแต่ละกิจกรรมให้ชัดเจน ดำเนินการตามแผนแล้วเสร็จไม่ครบทุกกิจกรรม หรือแสดงเอกสาร หลักฐานของบางกิจกรรมซ้ำกัน โดยเข้าใจว่าเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น เข้าใจว่าขั้นตอนการประมวลและกลั่นกรององค์ความรู้ กับ การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นขั้นตอนเดียวกัน
บทเรียน : KM ดำเนินการตามกิจกรรมที่ระบุไว้ในแผน แต่ไม่ได้บันทึกข้อมูลองค์ความรู้ไว้ หรือ ไม่มีเอกสารหลักฐานมาแสดงได้ว่าดำเนินการตามกิจกรรมนั้นจริง เช่น มีหลักฐานว่าจัดกิจกรรม COP แต่ไม่ได้บันทึกองค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติที่ดีเลิศไว้อย่างเป็นรูปธรรม องค์ความรู้ที่นำมาดำเนินการตามกิจกรรมที่ระบุอยู่ภายใต้ทั้ง 7 ขั้นตอน ไม่ใช่เรื่องเดียวกัน และไม่ใช่องค์ความรู้เป้าหมายที่เลือกมาดำเนินการ จัดทำแผนฯ และผู้บริหารให้ความเห็นชอบแผนฯ ใกล้สิ้นปีงบประมาณ กิจกรรมที่ระบุในแผนฯ บางเรื่องดำเนินการไปแล้วก่อนแผนได้รับอนุมัติ แล้วจึงรวบรวมมาบรรจุในแผน
บทเรียน : Information Technology ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551
บทเรียน : IT ส่วนราชการระดับกรม : ไม่ได้จัดทำแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศฯ เนื่องจาก คิดว่ามีระบบ IT อยู่แล้ว หรือไม่มีงบประมาณในการดำเนินการทำให้ขาดการติดตามประเมินผล ตามแผนฯ และไม่ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น ที่ไม่ได้รับผิดชอบศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ ยกเว้นในหน่วยงานที่ผู้บริหารระดับสูงลงมาร่วมติดตามหรือให้ความสนใจเป็นพิเศษ จึงจะประสบ ความสำเร็จ รวมทั้งมักจ้างที่ปรึกษาภายนอกมาดำเนินการทั้งหมด โดยส่วนราชการไม่มีความรู้ ความเข้าใจ ทำให้การพัฒนาระบบสารสนเทศในอนาคตไม่มีความยั่งยืน ส่วนราชการระดับจังหวัด : การพัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัด ขาดการมองในภาพรวม ส่วนใหญ่จะเป็นการสำรวจว่าข้อมูลที่หน่วยงานใดมีอยู่บ้างก็จะนำมาแสดงเป็นข้อมูลตามยุทธศาสตร์ ของจังหวัด และมีความซ้ำซ้อนของการพัฒนาระบบ โดยมีระบบ IT ซึ่งจัดทำโดยหน่วยงานต้นสังกัด (ส่วนกลาง) และระบบที่จังหวัดจัดทำขึ้นเอง ซึ่งมีโครงการพื้นฐานของระบบฯ ไม่สอดคล้องกัน ทำให้การถ่ายโอนข้อมูลมีอุปสรรค เกิดข้อผิดพลาด บางจังหวัดจึงเลือกดำเนินการควบคู่กันไปทั้ง 2 ระบบ นอกจากนี้ยังพบปัญหาที่ส่วนราชการและจังหวัดมีเหมือนกัน เช่น ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญ กับการใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเท่าที่ควร ไม่เข้าใจว่า Contingency Plan หรือ แผนแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์ความไม่แน่นอน และภัยพิบัติที่อาจจะเกิดกับระบบสารสนเทศ คืออะไร มีการตรวจสอบการทำงานของระบบฯ แต่ไม่ได้นำปัญหา ที่พบมาแก้ไขปรับปรุง เป็นต้น
ข้อพึงระวังเกี่ยวกับการดำเนินการ ปี 2552 เกณฑ์การผ่านวัดจากการผ่าน FL ไม่ใช่วัดจากความสำเร็จ ของแผนพัฒนาองค์การ อย่าลืมเก็บรวบรวมข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์ในแบบฟอร์มที่ 2 ด้วย เกณฑ์การผ่านจะพิจารณาจากส่วนที่ 3 ของภาคผนวก ค ในคู่มือตัวชี้วัด PMQA อย่าลืมมอบหมายผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูลหมวด 7 ด้วย
เคล็ด (ไม่) ลับการบรรลุ FL ต้องรู้จักตัวตนก่อนเริ่มบริหารจัดการ (ลักษณะสำคัญองค์กรต้องชัด) เพื่อเชื่อมโยงถึงกิจกรรมที่ดำเนินการ ผู้บริหารมีความสำคัญในกลไกการขับเคลื่อนการดำเนินการ (Driver) หมวด 1 การสื่อสารทิศทาง นโยบาย อย่างทั่วทั้งองค์การ (Deployment) หมวด 2 คุณภาพของการวางแผน (คุณภาพของปัจจัยที่นำมาใช้ประกอบการวางแผน) หมวด 3 หัวใจสำคัญ คือ การกำหนดกลุ่มผู้รับบริการ (การมี Customer Profile) และประสิทธิภาพของช่องทาง หมวด 4 ความครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย หมวด 5 เพิ่มคุณค่าด้วยการพัฒนาและการสร้างความผาสุก หมวด 6 ทบทวนและปรับปรุงกระบวนการ หมวด 7 กำหนดผู้รับผิดชอบชัดเจน เพื่อติดตามผลเป็นระยะ การบริหารจัดการแบบบูรณาการ
ตัวชี้วัดที่10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก ร้อยละ 20) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
10.1.1 ปรับ FL บางตัวให้เหมาะสม ตัวชี้วัดที่10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก ร้อยละ 20) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 10.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน หมวด 10.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 บังคับ สมัครใจ 10.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (วัดกระบวนการในการดำเนินการพัฒนาองค์การในหมวดที่ดำเนินการปีงบประมาณ พ.ศ.2553) 4 10.3.1 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 1 10.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการพัฒนาองค์การ(วัดผลลัพธ์ของการพัฒนาองค์การในหมวดที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553) 10.3.2 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 10.1.3 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ในหมวดที่ส่วนราชการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 6 10.3.3 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (2 แผน) 2 12 10.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 10.1.1 ปรับ FL บางตัวให้เหมาะสม 10.1.2 กำหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์ จากตัวชี้วัดแนะนำ + เพิ่มเติม (ถ้ามี) 10.1.3 ซ่อม FL ในกรณีที่ไม่ผ่าน กรณีที่ผ่าน FL แล้ว จะได้ค่าคะแนนนี้โดยปริยาย 10.3 ดำเนินการเช่นเดียวกับปี 52 10.2 ปรับตัวชี้วัดหมวด 7 ให้เหมาะสมเน้นผลลัพธ์
FL ที่ต้องปรับให้เหมาะสม หมวด 1 – ปรับ LD6 (ควบคุมภายใน) และ OG หมวด 2 - SP7 ความเสี่ยงปรับให้ง่ายขึ้น (ปรับแล้ว) หมวด 3 - ปรับจำนวนประเด็นให้กระชับ ไม่ซ้ำซ้อน และปรับเข้าสู่ Learning มากขึ้น หมวด 4 – ปรับ KM เรื่ององค์ความรู้ ควรเริ่มเข้าสู่ LO หมวด 5 - ปรับ HR3 การพัฒนาบุคลากรให้ชัดเจนยิ่งขึ้น หมวด 6 - เรียงลำดับข้อใหม่ (แต่จุดอ่อนคือ ความไม่เข้าใจในการกำหนดกระบวนการ สร้างคุณค่า)
รายละเอียดและข้อมูลเพิ่มเติม Download ข้อมูลได้ที่ Website http//: www.opdc.go.th 0 – 2356 9999 ต่อ 9948 8841 8806 8916